ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การผลิตศิลปกรรม แรงบันดาลใจจากปราสาทเขาพนมรุ้ง

Show simple item record

dc.contributor.author อโศก, ไทยจันทรารักษ์
dc.contributor.author สาธิต, ทิมวัฒนบรรเทิง
dc.contributor.author อำนาจ, เย็นสบาย
dc.contributor.author นพดล, อินทร์จันทร์
dc.date.accessioned 2017-09-18T02:56:07Z
dc.date.available 2017-09-18T02:56:07Z
dc.date.issued 2015-05
dc.identifier.citation หน้า 113-124 en_US
dc.identifier.isbn 1686-0101
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2106
dc.description.abstract การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิง ลึกนักวิชาการด้านโบราณคดี กลุ่มช่างผู้สร้างสรรค์ผลงาน รวมถึงช่างที่เป็นตัวแทน กลุ่มประชากรตัวอย่างในการศึกษาวิจัยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษารูป แบบของศิลปกรรมที่ปราสาทเขาพนมรุ้งในแง่ความงามทางด้าน รูปทรง ลวดลาย และเรื่องราว และความนิยมในรูปทรงศิลปะที่ปรากฏในภาพจําหลักของปราสาท เขาพนมรุ้ง อําเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อศึกษาช่างจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้สํารวจในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ จาก 4 กลุ่มตัวอย่าง ที่มีผลงานผลิตซํ้าศิลปกรรม ตามแบบปราสาทเขาพนมรุ้ง 3) ศึกษาสิ่งที่สังคมจะได้จากผลงานที่สร้างสรรค์ รูปแบบ ศิลปกรรมจากปราสาทเขาพนมรุ้ง การศึกษาวิเคราะห์การผลิตศิลปกรรม แรงบันดาล ใจจากปราสาทเขาพนมรุ้ง ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวสําคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ มีรูปแบบทาง ศิลปกรรมในแบบขอม อันมีประติมากรรมและภาพจําหลักเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา ฮินดูลัทธิไศวนิกาย เป็นปราสาทหินที่มีความงดงามด้วยรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ทําให้ศิลปินและสถาปนิกใช้ปราสาทเขาพนมรุ้งเป็นแรงบันดาลใจในการผลิตซํ้ารูป แบบทางสถาปัตยกรรมโดยสร้างขึ้นมาใหม่ ด้วยวัสดุใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญคือ สร้างรูปแบบทางศิลปกรรมเฉพาะท้องถิ่น ทําให้เกิดอาชีพและรายได้ในชุมชน และยัง เป็นประโยชน์ในแง่ของการช่วยเผยแพร่ศิลปกรรมแบบปราสาทพนมรุ้งให้เป็นที่รู้จัก ในสังคมอย่างกว้างขวางอีกด้วย en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การผลิตศิลปกรรม,ปราสาทเขาพนมรุ้ง en_US
dc.title การผลิตศิลปกรรม แรงบันดาลใจจากปราสาทเขาพนมรุ้ง en_US
dc.title.alternative Art production with inspiration from Phanom Rung Sanctuary en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics