ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาด้วยบารมี 10 ทัศ ในพระพุทธศาสนาเถรวาท

Show simple item record

dc.contributor.author อุดม, ชัยสุวรรณ
dc.contributor.author พระใบฎีกาเสน่ห์าณเมธ
dc.contributor.author ไพฑูรย์, รื่นสัตย
dc.contributor.author พิสิฏฐ์, โคตรสุโพธิ์
dc.date.accessioned 2017-09-18T02:20:33Z
dc.date.available 2017-09-18T02:20:33Z
dc.date.issued 2015-01
dc.identifier.citation ภาวะผู้นำา / บารมี10 ทัศ / รูปแบบ การพัฒนาภาวะผู้นำา en_US
dc.identifier.issn 1686-0101
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2101
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องภาวะผู้นำาตามทฤษฎี ตะวันตกและในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องบารมีในพระพุทธ ศาสนาเถรวาท 3) เพื่อเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาด้วยบารมี 10 ทัศในพระพุทธ ศาสนาเถรวาท ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถาตำาราวิชาการ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วทำาการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลต่างๆ แล้ว นำามาเรียบเรียงนำาเสนอในเชิงพรรณนาผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำาทางตะวันตกโดยทั่วไป มุ่งยกระดับการพัฒนาภาวะ ผู้นำาเพื่อให้เกิดการยอมรับนับถือในระดับโลก เช่น แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำา 5 ระดับ ของจอห์น ซี.แม็กซ์เวลล์ (john C.Maxwell) ที่ได้พยายามนำาเสนอเกี่ยวกับหลักการ พัฒนาภาวะผู้นำาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเพื่อความเข้าใจเข้าถึงหลักการพัฒนา ภาวะผู้นำาอย่างแท้จริง ที่เรียกว่าภาวะผู้นำาระดับที่สมบูรณ์ โดยชี้ให้เห็นถึงระดับ การพัฒนา 5 ระดับ ในลักษณะค่อยไต่บันไดขึ้นไปแต่ละขั้นได้แก่ ระดับที่ 1ตำาแหน่ง หน้าที่ (Position) ระดับที่ 2 การยอมรับ (Permission) ระดับที่ 3 การสร้างผลงาน (Production) ระดับที่ 4 การพัฒนาคน (People Development) ระดับที่ 5 จุด สูงสุด (Pinnacle) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการยอมรับสูงสุด ภาวะผู้นำาในพระพุทธศาสนาเถรวาท หมายถึง ผู้นำาที่ต้องมีคุณสมบัติทั้ง ภายในและภายนอกคือมีวิสัยทัศน์ชำานาญงานและเป็นผู้มีอัธยาศัยดีเป็นที่วางใจของ ผู้อื่นมีบุคลิกภาพน่าเชื่อถือสง่างามและสามารถที่จะนำาหลักธรรมไปบูรณาการปรับใช้ อย่างเหมาะสมหลักธรรมเหล่านั้นได้แก่หลักอธิปไตย 3 พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 พละ 5 ตลอดจนถึงหลักธรรมอื่นๆ ที่มาสนับสนุนส่งเสริมภาวะผู้นำา ได้แก่ หลักสาราณียธรรม 6 หลักอปริหานิยธรรม 7 และหลัก สัปปุริสธรรม 7 เป็นต้น โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการ พ้นทุกข์หรือบรรลุพระนิพพาน ส่วนบารมี หมายถึง ข้อปฏิบัติอย่างยิ่งยวด เป็นข้อปฏิบัติของพระโพธิสัตว์ผู้มุ่งพระโพธิญาณ แต่เดิม บารมี หมายถึง ความเป็นเลิศเป็นของ ปัจเจกบุคคลไม่ได้เน้นเฉพาะว่าต้องเป็นความเป็น เลิศในทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น ต่อมามีการใช้ มากขึ้นในพระพุทธศาสนามีความหมายเปลี่ยนเป็น ความเป็นเลิศในการปฏิบัติธรรมและในที่สุดก็ได้ เจาะจงว่าบารมีหมายถึงความเป็นเลิศที่สุดในการ ปฏิบัติธรรมเป็นการดับสิ้นแห่งอาสวะกิเลสแต่ความ หมายนี้ก็ยังไม่แพร่หลาย บารมี มี 10 ประการ คือ ทาน บารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบามี ระดับของบารมี แบ่ง เป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้นหรือระดับสามัญ เรียกว่า บารมี ระดับกลางเรียกว่า อุปบารมี ระดับสูง เรียกว่า ปรมัตถบารมี แต่ละระดับมีการปฏิบัติที่ยากง่ายแตก ต่างกัน ตัวอย่างเช่น การให้วัตถุสิ่งของนอกกาย จัด เป็นทานบารมี การเสียสละอวัยวะให้เป็นทาน เรียก ว่า ทานอุปบารมี การเสียสละชีวิตให้เป็นทาน เรียกว่า ทานปรมัตถบารมี ในงานวิจัยนี้ ได้เสนอรูปแบบการพัฒนา ภาวะผู้นำาด้วยบารมี 10 ทัศในพระพุทธศาสนา เถรวาท ดังนี้ 1) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาในด้าน การนำาตน ด้วยศีลบารมี สัจจบารมีเนกขัมมบารมี และวิริยบารมี 2) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาในด้าน การนำาคน ด้วยทานบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบารมี3) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาในด้าน การนำางานด้วยปัญญาบารมี วิริยบารมี และอธิษฐาน บารม en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำาด้วยบารมี 10 ทัศ ในพระพุทธศาสนาเถรวาท en_US
dc.title.alternative The model of leadership development based on Dasaparami in Theravada Buddhism en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor - en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics