ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้กลวิธีการเดาความหมายคำศัพย์โดยใช้บริบทและบัญชีรายการคำศัพย์สองภาษาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jongkit Wongpinit en_US
dc.contributor.advisor Chookiat Jarat en_US
dc.contributor.advisor Surachai Piyanukool en_US
dc.contributor.advisor Navamin Prachanant en_US
dc.contributor.author มณีกานต์, พลวัน
dc.date.accessioned 2017-09-16T07:58:21Z
dc.date.available 2017-09-16T07:58:21Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2049
dc.description.abstract การวิจัยครั้งมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะฟุตบอล และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ให้มีประสิทธิ-ภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 3)ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบเสริมทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 4) เปรียบเทียบทักษะฟุตบอลของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะที่ผู้วิจัยสร้าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2556 โรงเรียนบ้านยาง “ครุราษฎร์รังสรรค์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบฝึกเสริมทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะฟุตบอล และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 9ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยแบบฝึกเสริมทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จำนวน 18 แผน 3)แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องฟุตบอล จำนวน 30 ข้อ ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.21 ถึง 0.80 มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.21 ถึง 0.78 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 และ 4)แบบทดสอบทักษะฟุตบอล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E_1/E_2 และ E.I. ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะฟุตบอล และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟุตบอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเท่ากับ 94.48/92.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ผลการใช้กลวิธีการเดาความหมายคำศัพย์โดยใช้บริบทและบัญชีรายการคำศัพย์สองภาษาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง en_US
dc.title.alternative Effects of Guessing Vocabulary Meaning Through Contextual Clues and Bilingual Word Lists of High Vocational Certificate Students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline English
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.name Master of Arts


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics