ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การบริหารจัดการโลจิสติกสเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก

Show simple item record

dc.contributor.author สุธิดา, ทับทิมศร
dc.date.accessioned 2017-09-15T07:56:29Z
dc.date.available 2017-09-15T07:56:29Z
dc.date.issued 2016-11-24
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1457
dc.description.abstract การบริหารดวยระบบโลจิสติกส (Logistics) เปนกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการการนําสงสินคาจากผูผลิตถึงผูบริโภค และชวยเพิ่มขีดความสามารถใหแกภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรมทั้งในแงการลดตนทุนการผลิต การสรางมูลคาเพิ่ม การประหยัดพลังงาน และการรักษา สิ่งแวดลอมไปพรอมกันดวย ซึ่งพื้นที่ชายแดนแมสอดเปนพื้นที่เศรษฐกิจสําคัญที่รัฐบาลใหการสนับสนุน โดยเรงผลักดันใหเกิดเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ที่จะไดรับการสนับสนุนและรองรับการขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากนั้น ควรตระหนักถึงปญหา ดานการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมที่จะสงผลถึงในดานสิ่งแวดลอมที่ชุมชนในทองถิ่นจะไดรับ ซึ่ง ปจจุบันในเวทีโลกไดใหความสําคัญกับปญหาสิ่งแวดลอม อาทิ มลภาวะในอากาศที่เกิดจากการขนสง การใชพลังงานในกระบวนการผลิต และการใชวัสดุดานบรรจุภัณฑ การบริหารงานดานโลจิสติกส สําหรับอุตสาหกรรมตางๆ สวนใหญมุงเนนเฉพาะการลดตนทุนดาน โลจิสติกสเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถทางการแขงขัน ไมไดคํานึงถึงสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามในการลดตนทุนดานโลจิสติกส สามารถนําไปสูการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จึงไดมีการกลาวถึง “Green Logistics” เพื่อสราง ภาพลักษณขององคกรมากยิ่งขึ้น ปญหาสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะประเด็นการเปลี่ยนแปลงอากาศ (Climate Change) จากผลกระทบของภาวะโลกรอน (Global Warming) และ Greenhouse effect มลพิษทางอากาศอันเนื่องมาจากกาซ Carbon dioxide (CO2) เกิดจากการเผาผลาญน้ํามันในการ ขนสงสินคาจากรถบรรทุกชนิดตางๆ การใชระบบการขนสงในรูปแบบตางๆ เชน การใชศูนยกระจาย สินคา(Distribution Center) สามารถทําใหจํานวนรอบในการขนสงลดลง นํามาซึ่งตนทุนขององคกรที่ ลดลง และประการสําคัญคือ มลภาวะที่ลดลงอยางเห็นไดชัด การทํา Repackaging และ Re-used Packaging ในศูนยกระจายสินคาก็เปนอีกหนึ่งกิจกรรมที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการลําเลียงสินคา บนพาหนะไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ผลกระทบจากการขนสงอยางไมมีระบบที่ดี นํามาซึ่งตนทุนที่สูงโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4” (กลุมการจัดการและการทองเที่ยว) หนา 867 ระยะเวลาการขนสงที่เสียไปโดยเปลาประโยชน และมลภาวะที่เกิดจาก Carbon dioxide (CO2) ดังนั้น ผูเขียนจึงไดมองเห็นแนวทางในการนําแนวคิดและหลักการ ดาน Green Logistics ซึ่งมีบทบาทในอุตสาหกรรมตางๆ มากขึ้น และสามารถนํามาประยุกตใชในกิจกรรมดานโลจิสติกสตลอด โซอุปทาน ตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ําจนถึงปลายน้ํา เพื่อรักษาสิ่งแวดลอมในเขตพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ แมสอดสําหรับการรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject โลจิสติกสเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม en_US
dc.title การบริหารจัดการโลจิสติกสเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก en_US
dc.title.alternative Green Logistics Management in TAK Special Development Economic Zone en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics