ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนารูปแบบความส้มพันธโครงสร้างเซิงเส้นของปีจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.author ไพโรจน์, เคนวิเศษ
dc.date.accessioned 2017-09-13T01:34:21Z
dc.date.available 2017-09-13T01:34:21Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.citation การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พ.ศ. 2558 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1233
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบเซิงสมมติฐานความสัมพันธ์โครงสร้าง เซิงเส้นของป็จจัยที่มือิทธิพลต่อประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบเซิงสมมติฐานความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้นของป้จจัยที่มีอิทธิพล ต่อประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกับข้อมูลเซิงประจักษ์ผู้ให้ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาครูแนะแนวและตัวแทนครูที่ปรึกษา จำนวน 570 คน จากโรงเรียน ที่เปีดทำการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลหรือระดับขั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 190 โรงเรียน เครื่องมือที่ใข้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามตามแนวคิดทฤษฎีที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสถิติที่ใข้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้นของป็จจัยที่มือิทธิพล ต่อประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยการวิเคราะห์ป้จจัยที่มือิทธิพล เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบเซิงสมมติฐานตามแนวคิดทฤษฎีที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นกับข้อมูลเซิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบเซิงสมมติฐานความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้นของป้จจัยที่มือิทธิพลต่อประสิทธิผลของ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผู้วิจัยสร้างและพัฒนาขึ้นจากแนวคิดทฤษฎีและ กรณีศึกษา (Case Study) ประกอบด้วยตัวแปรแฝง4ตัวโดยจำแนกเป็นตัวแปรแฝงภายใน 3 ตัว ได้แก่ สร้าง องค์การแห่งการเรียนรู้สร้างความร่วมมือกับชุมชนและประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและตัวแปร แฝงภายนอก!ตัวได้แก่ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้นของป้จจัยที่มือิทธิพลต่อประสิทธิผลของระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเซิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดีมืค่าไค-สแควร์ (X2) เท่ากับ 55.65 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 41 ค่าความน่าจะเป็นหรือระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p-value) เท่ากับ 0. 063 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (X2/df) มีค่าเท่ากับ 1.357 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.957 ค่า ดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.904 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (SRMR) เท่ากับ 0. 035 ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.043 และมืค่าขนาดตัวอย่างวิกฤติ (CN) เท่ากับ 211.720 โดยมืค่าอิทธิพลรวมของแต่ละป็จจัยดังนี้ป็จจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลรวม เท่ากับ 0.64 ป็จจัยสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้มือิทธิพลรวมเท่ากับ 0.33 อย่างมืนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และป็จจัยสร้างความร่วมมือกับชุมชนมีอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.21 อย่างมืนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับอิทธิพลทางตรงใน ทิศทางบวกจากป้จจัยสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.33 ป้จจัยสร้างความร่วมมือกับชุมชนมี อิทธิพลทางตรงในทิศทางบวกมืค์าอิทธิพลเท่ากับ 0.21 และในส่วนของปีจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นตัว แปรแฝงภายนอกมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน ทิศทางบวกมีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.24 มีอิทธิพลทางอ้อมในทิศทางบวกโดยส่งผ่านป็จจัยสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ และป้จจัยสร้างความร่วมมือกับชุมชนมีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.40 และมีค่าอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.64 คำสำคัญ : รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้น, ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน, สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject structural Relations Model en_US
dc.subject Students Helping System en_US
dc.subject Basic School en_US
dc.title การพัฒนารูปแบบความส้มพันธโครงสร้างเซิงเส้นของปีจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน en_US
dc.title.alternative The Development of a Linear structural Relations Model of Factors that Influence the Effectiveness of Students Helping System in the Basic School en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics