ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวคิดการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยลูกทุ่งของศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น

Show simple item record

dc.contributor.author ธงรบ, ขุนสงคราม
dc.date.accessioned 2017-09-12T09:01:08Z
dc.date.available 2017-09-12T09:01:08Z
dc.date.issued 2013-07
dc.identifier.citation ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2 en_US
dc.identifier.issn 1686-0101
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1228
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการเรียบเรียงเสียง ประสานเพลงไทยลูกทุ่งของศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น ในประเด็นต่อไปนี้1) ประวตัชิวีติและผลงานทางดา้นดนตรขีองศลิปนิแหง่ชาต ิประยงค ์ชนื่เยน็ 2) แนวคดิ ในการประสมประสานวฒันธรรมทางดนตรใีนการเรยีบเรยีงเสยีงประสานเพลงไทยลกู ทุ่งของศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น และ 3) แนวทางการเรียบเรียงเสียงประสาน เพลงไทยลกูทงุ่ของศลิปนิแหง่ชาต ิประยงค ์ชนื่เยน็ ซงึ่ผวู้จิยัไดใ้ชว้ธิกีารศกึษาวจิยัเชงิ คณุภาพ (Qualitative Research) การสมุ่ตวัอยา่งผวู้จิยัใชว้ธิกีารสมุ่จากกลมุ่ตวัอยา่ง คอืบทเพลงทศี่ลิปนิแหง่ชาต ิประยงค ์ชนื่เยน็ ไดร้บัรางวลัพระราชทานดา้นการเรยีบ เรยีงเสยีงประสานดนตรเีพลงไทยลกูทงุ่ยอดเยยี่ม ในชว่งปพีทุธศกัราช 2519 - 2534 โดยใช้วิธีการแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำานวน 5 บทเพลง ผลการวิจัย 1. ศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น เติบโตขึ้นมาในท่ามกลางสังคมและ วฒันธรรมของไทยแบบชนบท ทไี่ดร้บัอทิธพิลดนตรพีนื้บา้นและดนตรไีทยเปน็ประจาำ จากการได้ยินได้ฟังที่วัดใกล้บ้านจึงเกิดแรงจูงใจ และเริ่มเล่นดนตรีจากการเป็นนัก ดนตรีแตรวงของโรงเรียน เมื่อเรียนจบก็หารายได้พิเศษจากการเป็นนักเป่าแตรเชียร์ รำาวงจนเข้าสู่วงการศิลปินนักร้องนักดนตรี เริ่มการเรียบเรียงเสียงประสานโดยอาศัยประสบการณแ์ละการศกึษาจากผลงานของนกัเรยีบ เรียงเสียงประสานรุ่นพี่ ก่อนท่ีจะเข้าเรียนวิชาการ เรียบเรียงเสียงประสานอย่างจริงจัง ศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น ได้นำาเอาความรู้ความสามารถ ประสมประสานกับประสบการณ์ด้านดนตรี ความ กล้าในการนำาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ ที่มีเอกลักษณ์ และความตั้งใจพัฒนาการเรียบเรียงเสียงประสาน เพลงไทยลูกทุ่งให้กับนักร้องจนมีชื่อเสียง มีผลงาน ที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ด้านการเรียบเรียงเสียง ประสาน และผลงานความภาคภูมิใจที่เป็นผู้เรียบ เรยีงเสยีงประสานบทเพลงพระราชนพินธใ์นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2. ศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น มีแนวคิดในการประสมประสานระหว่างสอง วัฒนธรรม คือ ดนตรีแบบไทยและเนื้อร้องทำานอง แบบไทยกับดนตรีสากล สามารถเข้ากันได้อย่าง กลมกลืน กล่าวคือ ทั้งผู้เรียบเรียง นักร้อง และนัก ดนตรีที่บรรเลงเครื่องดนตรีสากลเป็นคนไทย เมื่อ ทำาการบรรเลงก็ย่อมมีสำาเนียงความเป็นไทยปนอยู่ ในบทเพลง มีการสร้างดนตรีประกอบการขับร้อง โดยการนำาเอาท่วงทำานองหรือวลีของทำานองเพลง ไทยมาช่วยในการสร้างผลงานเพลง ใช้เครื่องดนตรี ไทยมาร่วมบรรเลงเป็นส่วนประกอบในการสร้าง ผลงานเพลง ใช้เครื่องดนตรีสากลมาบรรเลงเลียน แบบเสียงเครื่องดนตรีไทย และนำาเอาทำานองของ เพลงไทยมาดัดแปลงให้เหมาะสมสำาหรับวงดนตรี บรรเลง เพอื่ใหเ้กดิความสมัพนัธแ์ละความกลมกลนื ของบทเพลง 3. ศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น มี แนวทางในการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยลูก ทุ่งดังนี้ 3.1 คุณลักษณะของบทเพลง เครื่องดนตรีและหน้าที่ของเครื่องดนตรี มีรูปแบบ เอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ บทเพลงมีการใช้ร้อยกรอง ตามรปูแบบฉนัทลกัษณค์าำประพนัธแ์บบไทย ดาำเนนิ ทาำนองโดยใชเ้ครอื่งดนตรหีลกั 2 กลมุ่ ประกอบดว้ย 1) กลมุ่เครอื่งดนตรบีรรเลงประกอบจงัหวะ 2) กลมุ่ เครอื่งดนตรดีาำเนนิทาำนอง และเสรมิดว้ยกลมุ่เครอื่ง ดนตรีพิเศษ โดยใช้ทรัมเป็ต (Trumpet) เป็นเครื่อง ดนตรีดำาเนินทำานองหลัก 3.2 การสรา้งบทนาำ (Introduction) บท เชื่อม (Interlude) และบทจบ (Ending) ดัดแปลง จากแนวทำานองหลักเป็นท่วงทำานองสั้น ๆ หรือ วลีสั้น ๆ ที่สามารถเชื่อมต่อ ส่งเข้าบทร้องและลง จบได้ การสร้างดนตรีประกอบแนวทำานองใช้กลุ่ม เครื่องเป่า (Brass) เป็นหลัก ทำาหน้าที่โอบอุ้มแนว ทำานอง สอดแทรกแนวทำานอง ใช้การเคลื่อนที่ของ แนวทาำนองเขา้ชว่ยในการสรา้งดนตรปีระกอบ และ รองรับแนวทำานองหลัก โดยสร้างจากคอร์ดเดิมที่มี อยู่แล้ว โดยเฉพาะบทนำาทั้ง 5 บทเพลง ศิลปินแห่ง ชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น จะใช้คอร์ดเพียงคอร์ดเดียว ในการสร้างบทนำา 3.3 การใช้คอร์ด (Chord) บทเพลง ทั้ง 5 บทเพลงใช้คอร์ดหลัก (Primary Chord) ใน การดำาเนินทำานอง ดังนี้ 1) เพลง “แม่ยก” ใช้คอร์ด Cm Gm 2) เพลง “หนุ่มนารอนาง” ใช้คอร์ด F Bb C7 3) เพลง “อีสาวทรานซิสเตอร์” ใช้คอร์ด Em Am Bm7 4) เพลง “ข้อยเว้าแม่นบ่” ใช้คอร์ด Bb F7และ 5) เพลง “สม้ตาำ” ใชค้อรด์ Bm Em7 F#m7 การจบประโยคแบบเปอร์เพค คาเดนซ์ (Perfect Cadence) พบอยู่ในทั้ง 5 บทเพลง การจบแบบอิม เปอร์เพค คาเดนซ์ (Imperfect Cadence) พบอยู่ ใน 3 บทเพลง คือ เพลง “หนุ่มนารอนาง” “ข้อย เวา้แมน่บ”่ และ “สม้ตาำ” และรปูสาำเรจ็ของคาเดนซ์(Cadential) พบอยู่ใน 4 บทเพลง คือ เพลง “หนุ่ม นารอนาง” “อีสาวทรานซิสเตอร์” “ข้อยเว้าแม่น บ่” และ “ส้มตำา” ส่วนการใช้ชุดคอร์ดดอมินันท์ 7 (Dominant 7) พบว่าใช้ดอมินันท์ 7 ที่ 1 มาก ที่สุด พบอยู่ในทั้ง 5 บทเพลง และการใช้ชุดคอร์ด แพทเทิร์น (Pattern) ไม่พบอยู่ในบทเพลงทั้ง 5 บทเพลง en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเรียบเรียงเสียงประสาน, เพลงไทยลูกทุ่ง, แนวคิด en_US
dc.title แนวคิดการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยลูกทุ่งของศิลปินแห่งชาติ ประยงค์ ชื่นเย็น en_US
dc.title.alternative Musical Concept in Thai Folk Songs Arrangement of Prayong Chuenyen, a National Artist en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal รมยสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 2556


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics