ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศออนไลน์เพื่อการบริหารจัดการน ้าเขตพื้นที่ภัยแล้ง ในจังหวัดบุรีรั

Show simple item record

dc.contributor.author ทะนันไธสง, ณัฐวุฒิ
dc.contributor.author วงษ์รัมย์, ณัฐพล
dc.contributor.author รัตนา, ชนัดดา
dc.contributor.author วัชรพงษ์เกษม, วรินทร์พิพัชร
dc.date.accessioned 2023-09-17T06:22:17Z
dc.date.available 2023-09-17T06:22:17Z
dc.date.issued 2565-07-20
dc.identifier.citation วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 69 ปีที่ 14 ฉบับที่ 20 กรกฎาคม – ธันวาคม 2565 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8695
dc.description.abstract จังหวัดบุรีรัมย์ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานานท าให้เกิดการขาดแคลนน้ า ในสภาวะอากาศที่ เปลี่ยนแปลง จ านวนประชากรเพิ่มมากขึ้นท าให้การบริหารจัดการน้ าในหลายพื้นที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ บททความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อส ารวจแหล่งน้ าต้นทุน ความต้องการใช้น้ าอุปโภค บริโภคและการเกษตร จัดท า ฐานข้อมูลในการบริหารจัดการน้ าและพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อเผยแพร่ข้อมูลการใช้น้ า พื้นที่ต าบลมะเฟือง อ าเภอพุทไธสง ต าบลบ้านด่าน อ าเภอบ้านด่าน ต าบลโคกเหล็ก อ าเภอห้วยราชและต าบลเมืองฝาง อ าเภอเมือง บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างจ านวน 61 คน ประกอบด้วย กรรมการกลุ่มบริหารจัดการบริหารจัดการน้ า ระดับต าบล ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดบุรีรัมย์ส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัดบุรีรัมย์ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดบุรีรัมย์ และสถานีพัฒนาที่ดินบุรีรัมย์การพัฒนาระบบ โดยแนวคิดวงจรการพัฒนาระบบ วิธีด าเนินการวิจัยแบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่ 1) ศึกษาความต้องการ 2) จัดท า ฐานข้อมูลการใช้น้ าระดับต าบล 3) การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน 4) การทดลองประเมินประสิทธิภาพและความพึง พอใจผู้ใช้ระบบ ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาระบบฐานข้อมูลประกอบไปด้วย 16 ตาราง ได้แก่ ค าแนะน า หมู่บ้าน ต าบล อ าเภอ จังหวัด ข้อมูลติดต่อ ประเภทปศุสัตว์ จ านวนปศุสัตว์ ครัวเรือน ปริมาณพืช ประเภทพืช ระบบสมาชิก แหล่งน้ า ประเภทแหล่งน้ า เจ้าของแหล่งน้ าและผู้ใช้แหล่งน้ า ระบบภูมิสารสนเทศออนไลน์เพื่อ การบริหารจัดการน้ าเขตพื้นที่ภัยแล้งประกอบด้วย 10 ส่วน ได้แก่ หน้าหลัก หมวดหมู่สัตว์ หมวดหมู่พื้นที่ การเกษตร การจัดการแหล่งน้ า การจัดการข้อมูลสมาชิก การจัดการหมู่บ้าน การบันทึกข้อมูล รายงาน ค าแนะน า และการติดต่อเจ้าหน้าที่ และการน าเข้าข้อมูลความต้องการใช้น้ า ทั้งหมด 37 ชุมชน 2,714 ครัวเรือน ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (x̅=4.70) ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅= 4.76) en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ฐานข้อมูล ระบบภูมิสารสนเทศออนไลน์ การบริหารจัดการน้ำ en_US
dc.subject ฐานข้อมูล ระบบภูมิสารสนเทศออนไลน์ การบริหารจัดการน้ า en_US
dc.title การพัฒนาระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศออนไลน์เพื่อการบริหารจัดการน ้าเขตพื้นที่ภัยแล้ง ในจังหวัดบุรีรั en_US
dc.title.alternative Development of Database Geoinformatics Online for Water Management in Drought Areas in Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics