ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท อาร์.เอ็ม.ซี.ฟาร์ม จำกัด จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์ ดร.ณัฐนันท์ ประสีระเตสัง en_US
dc.contributor.author ธัญญาภรณ์, วงษ์ธัญญกรณ์
dc.contributor.author ศักดิ์ดา, ใหลหาโคตร
dc.contributor.author พรพรรณ, พลทามูล
dc.date.accessioned 2020-03-26T04:59:06Z
dc.date.available 2020-03-26T04:59:06Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6115
dc.description การศึกษาเรื่องการวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน มีวัตถุ ประสงค เพื่อทำการวางแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับกำลังการผลิตที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในฝายปฏิบัติการผลิตของ บริษัท อาร์.เอ็ม.ซี.ฟาร์ม จำกัด โดยในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มผู้วิจัยได้นำเอาหลักกลยุทธ์บริสุทธิ์มาใช้เปรียบเทียบกันระหว่าง 2 วิธีการ ได้แก่ วิธีการปรับระดับการผลิตให้คงที่และวิธีการปรับระดับกำลังการผลิตตามความต้องการซึ่งพบว่า วิธีการที่สามารถนำมาใช้ในการวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนการผลิตรวมน้อยที่สุดคือ วิธีการปรับระดับการผลิตให้คงที่ พบว่ามีสินค้าคงคลังรวมทั้งหมด 366,327 กิโลกรัม และมีต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดเท่ากับ 470,950,713 บาท จากนั้นได้ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล โดยวัดระดับความพึงพอใจพบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมมีคาเฉลี่ย 3.51 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนสองปจจัย ตามแนวทฤษฎีของ Herzberg สามารถสรุปไดดังนี้ คาเฉลี่ยความพึงพอใจตอปจจัยค้ำจุน (Hygiene Factors) มีความพึงพอใจอยูระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และคาเฉลี่ยความพึงพอใจตอปจจัยจูงใจ (Motivation Factors) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.58 en_US
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องการวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน มีวัตถุ ประสงค เพื่อทำการวางแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับกำลังการผลิตที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในฝายปฏิบัติการผลิตของ บริษัท อาร์.เอ็ม.ซี.ฟาร์ม จำกัด โดยในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มผู้วิจัยได้นำเอาหลักกลยุทธ์บริสุทธิ์มาใช้เปรียบเทียบกันระหว่าง 2 วิธีการ ได้แก่ วิธีการปรับระดับการผลิตให้คงที่และวิธีการปรับระดับกำลังการผลิตตามความต้องการซึ่งพบว่า วิธีการที่สามารถนำมาใช้ในการวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนการผลิตรวมน้อยที่สุดคือ วิธีการปรับระดับการผลิตให้คงที่ พบว่ามีสินค้าคงคลังรวมทั้งหมด 366,327 กิโลกรัม และมีต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดเท่ากับ 470,950,713 บาท จากนั้นได้ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล โดยวัดระดับความพึงพอใจพบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมมีคาเฉลี่ย 3.51 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนสองปจจัย ตามแนวทฤษฎีของ Herzberg สามารถสรุปไดดังนี้ คาเฉลี่ยความพึงพอใจตอปจจัยค้ำจุน (Hygiene Factors) มีความพึงพอใจอยูระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และคาเฉลี่ยความพึงพอใจตอปจจัยจูงใจ (Motivation Factors) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเท่ากับ 3.58 en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject วางแผนกำลังคน en_US
dc.subject ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน,การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน en_US
dc.title การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท อาร์.เอ็ม.ซี.ฟาร์ม จำกัด จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม) en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics