ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์พิพัฒน์ ประจญศานต์ en_US
dc.contributor.author โชคทวี, มาประจวบ
dc.contributor.author จันทิมา, แก่นจันทร์
dc.contributor.author สุขเสริม, สุดารัตน์
dc.date.accessioned 2020-03-26T04:53:53Z
dc.date.available 2020-03-26T04:53:53Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6113
dc.description วท.บ.เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2560 en_US
dc.description.abstract วิจัยเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษาร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยในการวิจัยในกลุ่มผู้วิจัยได้ทำการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลภายในเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2559 จากการสัมภาษณ์เจ้าของร้าน ผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงาน แล้วจึงทำการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการระดมความคิดร่วมกับเจ้าของร้านกรณีศึกษา โดยใช้แผนผังเหตุและผลพบว่าสาเหตุที่ส่งผลมากที่สุดที่ทำให้เกิดปัญหา มาจากสินค้าที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ผู้วิจัยจึงใช้การพยากรณ์เข้ามาช่วยในการคาดคะเนว่าจะมีลูกค้ามาใช้บริการและทำให้มีความต้องใช้น้ำดื่มตรามิเนเร่ (Minere) เท่าไหร่ล่วงหน้า โดยเลือกรูปแบบการพยากรณ์ด้วยวิธีปรับเรียบเอกซ์โพเนนเชียลและทำการเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนด้วยค่าความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) โดยการเปรียบเทียบค่า α ที่ 0.1 และ 0.5 ว่าค่าไหนมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่ากัน ได้ผลว่าที่ α ที่ 0.1 มีค่าความคลาดเคลื่อน 135.31 ที่ 0.5 มีความคลาดเคลื่อน 63.56 ผู้วิจัยจึงเลือกค่า α ที่ 0.5 เป็นรูปแบบการพยากรณ์ที่เหมาะสมกับร้านกรณีศึกษานี้ และได้ทำการสร้างแบบจำลองระบบการจัดการสินค้าคงคลังเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังของร้านกรณีศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วย (1) ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม (EOQ) โดยสั่งซื้อครั้งละ 492 จึงจะประหยัดที่สุดส่งผลให้ปีหนึ่งจะมีการสั่งซื้อทั้งหมด 16 ครั้ง (2) ปริมาณสินค้าคงคลังที่มีไว้เผื่อของขาด (SS) จากความต้องการใช้น้ำดื่มมิเนเร่ (Minere) ของร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในปี 2559 ที่ผ่านมาทั้งหมดมี 48 สัปดาห์ หรือ 336 วัน โดยประมาณการเฉพาะช่วงเปิดเทอมที่ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี เปิดให้บริการ ซึ่งมีอัตราการใช้น้ำดื่มอยู่ที่ 85 ขวด (3) หาจุดสั่งซื้อที่เหมาะสม (ROP) คือ 86 ขวด ดังนั้นถ้าสินค้าลดลงเหลือเพียง 85 ขวดต่อสัปดาห์ จะต้องรีบทำการสั่งซื้อเพิ่มทันทีและผู้วิจัยทำการทดสอบแบบจำลองสินค้าคงคลัง โดยอาศัยข้อมูลการใช้งานจริงของน้ำดื่มมิเนเร่ (Minere) ในอดีตมาทดสอบด้วยวิธีการทดสอบย้อนหลัง (Back test) ได้ผลลัพธ์สรุปดังนี้ (1) จำนวนครั้งที่สั่งซื้อทั้งหมดเท่ากับ 16 ครั้งต่อปี จากเดิม 36 ครั้ง (2) ไม่มีจำนวนครั้งที่ของขาด จากเดิม 20 ครั้งต่อปี (3) ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยเท่ากับ 356 ขวดต่อปี จากเดิม 443 ขวด และ (4) ต้นทุนค่าเสียโอกาสเท่ากับ 8,265 บาทต่อปี จากเดิม 12,045 บาท หลังจากการเปรียบเทียบต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริงในปี พ.ศ.2559 (เดิม) มีต้นทุนเท่ากับ 17,108 บาท และต้นทุนสินค้าคงคลังที่เกิดขึ้นจริงทั้งหมดที่ได้จากแบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลังมีต้นทุนเท่ากับ 8,656 บาท เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว พบว่าแบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลังมีต้นทุนที่สร้างขึ้นสามารถลดต้นทุนได้เท่ากับ 8,452 บาท หรือร้อยละ 84.25 ของต้นทุนเดิม ดังนั้นร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ควรมีการจัดการสินค้าคงคลังดังนี้ คือ ควรทำการวิเคราะห์รูปแบบของการสั่งซื้อสินค้าใหม่ในทุกๆ ปี ด้วยการพยากรณ์แบบเอกซ์โพเนนเชียล โดยใช่ค่า α ที่ 0.5 ค่าพยากรณ์ที่ได้ทำให้คาดคะเนว่าจะมีปริมาณความต้องการน้ำดื่มในปีถัดไปเท่าไหร่ แล้วนำมาหาว่าจะต้องมีการจัดซื้อน้ำดื่มช่วงไหนบ้าง เพื่อนำมาวางแผนในการจัดการสินค้าคงคลังล่วงหน้า โดยใช้แบบจำลองสินค้าคงคลังที่สร้างขึ้น ทำให้ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี สามารถวางแผนการจัดซื้อ การจัดการวางและการจัดการสินค้าคงคลังให้เหมาะสม en_US
dc.description.sponsorship วิจัยเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษาร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยในการวิจัยในกลุ่มผู้วิจัยได้ทำการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลภายในเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2559 จากการสัมภาษณ์เจ้าของร้าน ผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงาน แล้วจึงทำการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการระดมความคิดร่วมกับเจ้าของร้านกรณีศึกษา โดยใช้แผนผังเหตุและผลพบว่าสาเหตุที่ส่งผลมากที่สุดที่ทำให้เกิดปัญหา มาจากสินค้าที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ผู้วิจัยจึงใช้การพยากรณ์เข้ามาช่วยในการคาดคะเนว่าจะมีลูกค้ามาใช้บริการและทำให้มีความต้องใช้น้ำดื่มตรามิเนเร่ (Minere) เท่าไหร่ล่วงหน้า โดยเลือกรูปแบบการพยากรณ์ด้วยวิธีปรับเรียบเอกซ์โพเนนเชียลและทำการเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนด้วยค่าความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAD) โดยการเปรียบเทียบค่า α ที่ 0.1 และ 0.5 ว่าค่าไหนมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่ากัน ได้ผลว่าที่ α ที่ 0.1 มีค่าความคลาดเคลื่อน 135.31 ที่ 0.5 มีความคลาดเคลื่อน 63.56 ผู้วิจัยจึงเลือกค่า α ที่ 0.5 เป็นรูปแบบการพยากรณ์ที่เหมาะสมกับร้านกรณีศึกษานี้ และได้ทำการสร้างแบบจำลองระบบการจัดการสินค้าคงคลังเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังของร้านกรณีศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วย (1) ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม (EOQ) โดยสั่งซื้อครั้งละ 492 จึงจะประหยัดที่สุดส่งผลให้ปีหนึ่งจะมีการสั่งซื้อทั้งหมด 16 ครั้ง (2) ปริมาณสินค้าคงคลังที่มีไว้เผื่อของขาด (SS) จากความต้องการใช้น้ำดื่มมิเนเร่ (Minere) ของร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในปี 2559 ที่ผ่านมาทั้งหมดมี 48 สัปดาห์ หรือ 336 วัน โดยประมาณการเฉพาะช่วงเปิดเทอมที่ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี เปิดให้บริการ ซึ่งมีอัตราการใช้น้ำดื่มอยู่ที่ 85 ขวด (3) หาจุดสั่งซื้อที่เหมาะสม (ROP) คือ 86 ขวด ดังนั้นถ้าสินค้าลดลงเหลือเพียง 85 ขวดต่อสัปดาห์ จะต้องรีบทำการสั่งซื้อเพิ่มทันทีและผู้วิจัยทำการทดสอบแบบจำลองสินค้าคงคลัง โดยอาศัยข้อมูลการใช้งานจริงของน้ำดื่มมิเนเร่ (Minere) ในอดีตมาทดสอบด้วยวิธีการทดสอบย้อนหลัง (Back test) ได้ผลลัพธ์สรุปดังนี้ (1) จำนวนครั้งที่สั่งซื้อทั้งหมดเท่ากับ 16 ครั้งต่อปี จากเดิม 36 ครั้ง (2) ไม่มีจำนวนครั้งที่ของขาด จากเดิม 20 ครั้งต่อปี (3) ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยเท่ากับ 356 ขวดต่อปี จากเดิม 443 ขวด และ (4) ต้นทุนค่าเสียโอกาสเท่ากับ 8,265 บาทต่อปี จากเดิม 12,045 บาท หลังจากการเปรียบเทียบต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริงในปี พ.ศ.2559 (เดิม) มีต้นทุนเท่ากับ 17,108 บาท และต้นทุนสินค้าคงคลังที่เกิดขึ้นจริงทั้งหมดที่ได้จากแบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลังมีต้นทุนเท่ากับ 8,656 บาท เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว พบว่าแบบจำลองการจัดการสินค้าคงคลังมีต้นทุนที่สร้างขึ้นสามารถลดต้นทุนได้เท่ากับ 8,452 บาท หรือร้อยละ 84.25 ของต้นทุนเดิม ดังนั้นร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ควรมีการจัดการสินค้าคงคลังดังนี้ คือ ควรทำการวิเคราะห์รูปแบบของการสั่งซื้อสินค้าใหม่ในทุกๆ ปี ด้วยการพยากรณ์แบบเอกซ์โพเนนเชียล โดยใช่ค่า α ที่ 0.5 ค่าพยากรณ์ที่ได้ทำให้คาดคะเนว่าจะมีปริมาณความต้องการน้ำดื่มในปีถัดไปเท่าไหร่ แล้วนำมาหาว่าจะต้องมีการจัดซื้อน้ำดื่มช่วงไหนบ้าง เพื่อนำมาวางแผนในการจัดการสินค้าคงคลังล่วงหน้า โดยใช้แบบจำลองสินค้าคงคลังที่สร้างขึ้น ทำให้ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี สามารถวางแผนการจัดซื้อ การจัดการวางและการจัดการสินค้าคงคลังให้เหมาะสม en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเพิ่มประสิทธิภาพ en_US
dc.subject การจัดการสินค้าคงคลัง en_US
dc.subject การลดต้นทุน en_US
dc.title การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา ร้านเจ้แคร์ กาแฟใจดี ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม) en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics