ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน

Show simple item record

dc.contributor.author ชฎารัตนฐิติ, ปุริม
dc.contributor.author เชาวนกุล, นพพล
dc.contributor.author นาคินชาติ, ธีระพงษ์
dc.contributor.author ไชยสงคราม, วรายุทธ
dc.date.accessioned 2020-03-22T01:58:40Z
dc.date.available 2020-03-22T01:58:40Z
dc.date.issued 2020-03-12
dc.identifier.citation The 6th National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM2020 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5990
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน และ 2) ประเมินผลการทดลองใช้ระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน เครื่องมือประเมินผลการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน มีวิธีการพัฒนาระบบตามวงจรพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช้ แผนภาพกิจกรรม (Activity Diagram) อธิบายกิจกรรมที่เกิดขึ้นในลักษณะกระแสการไหลของการทำงาน (Workflow) ภาษาที่ใช้พัฒนา ใช้ภาษาซีในการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และใช้ภาษาซีชาร์ป ในการเขียนโปรแกรมควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน อุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ NodeMCU ESP8266 บอร์ด Arduino UNO R3 เซนเซอร์วัดความชื้นในดิน รีเลย์ โมดูลแปลงไฟ สวิตชิงเพาเวอร์ซัพพลาย ปั๊มน้ำ และโซลินอยด์วาล์ว และ 2) ผลการประเมินระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน โดยผู้เชี่ยวชาญในภาพรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.87 ด้วยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.37 en_US
dc.description.abstract The purposes of the research were to develop The Automatic Drip Control System via Smartphone, and to Evaluation trial of the Automatic Drip Control System via Smartphone. The research tool is questionnaire. Statistical mean and standard deviation for data analysis. The research findings showed that 1) The Automatic Drip Control System via Smartphone development is based on integrated development of the activity diagram describes the events that occur in the Workflow. Hardware control programmed with C language. Controller software via smartphone programmed with C# language. The equipment adopts NodeMCU ESP8266, Arduino UNO R3 Board, Soil Moisture Sensors, Relays, Power Converter Module, Switching Power Supply, Water pumps and solenoid valves. 2) The result of the system evaluation by experts found that the performance of the system overall in a good level with average is 3.87 and standard deviation 0.37. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ระบบควบคุม en_US
dc.subject น้ำหยด en_US
dc.subject รดน้ำอัตโนมัติ en_US
dc.subject สมาร์ทโฟน en_US
dc.title การพัฒนาระบบควบคุมการเปิด-ปิดน้ำหยดอัตโนมัติด้วยสมาร์ทโฟน en_US
dc.title.alternative The Development of an Automatic Drip Control System via Smartphone en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor phurim.cr@bru.ac.th en_US
dc.contributor.emailauthor nopput1610@gmail.com en_US
dc.contributor.emailauthor tee221996@gmail.com en_US
dc.contributor.emailauthor ateemai11@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics