ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

หมอลำหมู่ศิลปินภูไท : มิติใหม่ของการจัดการเชิงกลยุทธ

Show simple item record

dc.contributor.author มะเสน, อิทธิพล
dc.date.accessioned 2020-03-17T09:08:53Z
dc.date.available 2020-03-17T09:08:53Z
dc.date.issued 2561-01-01
dc.identifier.citation วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5943
dc.description.abstract ปัจจุบันกระแสความนิยมของหมอลำามี จำานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะหมอลำาหมู่หรือ หมอลำาเรื่องต่อกลอนที่มีการนำาเสนอวัฒนธรรมที่ หลากหลายและเข้าถึงผู้คนทุกวัย ถึงแม้ว่าหมอลำา หมู่จะเป็นการพาณิชย์ด้านวัฒนธรรมแต่การรักษา มรดกทางวัฒนธรรมยังคงปรากฏให้เห็นในหมอลำา ทุกคณะที่สื่อสารผ่านบทกลอนและทำานองการ เคลื่อนไหวทางสรีระแบบฉบับศิลปะการแสดงอีสาน การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมมีผลกระทบต่อวิถี ชีวิตและวัฒนธรรมพื้นถิ่น เช่น ความเชื่อ ประเพณี หรือศาสนา ถูกนำามาปรับเพื่อความเหมาะสมใน สภาวะปัจจุบัน “การเปลี่ยนแปลงเพื่อการอนุรักษ์ (ณรงค์ เส็งประชา, 2532 : 91-95) ด้วยสภาพสังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การทำางานภาย ใต้สังคมยุคพัฒนาที่มีปัจจัยด้านเทคโนโลยีเข้ามา เกี่ยวข้อง การกำาหนดทิศทางของการใช้ทรัพยากร อย่างเหมาะสม กลยุทธ์ในการดึงดูดความสนใจและ การสร้างแรงจูงใจให้ผู้ชมและเจ้าภาพหลากหลาย อีกทั้งยังมีการประเมินความเสี่ยงในการบริหารงาน ของหัวหน้าคณะ รวมถึงการคิดรูปแบบการนำาเสนอ มิติใหม่ที่เกิดความแตกต่างจากคณะหมอลำาหมู่ ทั่วไป จึงเป็นมาตรฐานในการบริหารงานในรูปแบบ ใหม่ของคณะหมอลำาหมู่ที่ดำารงอยู่ในปัจจุบันและ หมอลำาหมู่ที่จะก่อตั้งในอนาคต ผู้วิจัยพบการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการ การ แก้ปัญหาสังคมจากวิทยานิพนธ์บางเรื่อง อาทิ นำาใจ อุทรักษ์ (2553) เรื่อง การศึกษาและแนวทาง การพัฒนาหมอลำาเรื่องต่อกลอนในภาคอีสาน งาน วิจัยของสุรพล เนสุสินธุ์ (2550) พัฒนาการการแสดง หมอลำาเรื่องต่อกลอนทำานองขอนแก่นคณะระเบียบ วาทะศิลป์ จังหวัดขอนแก่น และวิทยานิพนธ์ของ สิทธิศักดิ์ จำาปาแดง (2548) บทบาทของหมอลำาใน การแก้ปัญหาสังคม ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวศึกษาด้วย วิธีการเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากภาคสนามและ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม มีผลต่อการ ดำาเนินชีวิตของผู้คนในท้องถิ่น โดยเฉพาะหมอลำา ในฐานะผู้เผยแพร่วัฒนธรรมที่สำาคัญ ทำาหน้าที่ ขยายผลทางวัฒนธรรม แต่ยังไม่พบผู้ศึกษาในการ จัดการเชิงพาณิชย์ในรูปแบบของดนตรีและศิลปะ การแสดงพื้นบ้าน สอดคล้องกับแนวคิดการขาย วัฒนธรรมสำาหรับการเป็นสินค้าของ ไทยโรจน์ พวง มณี (2554 : 73) ที่กล่าวว่า “วัฒนธรรมต้องเข้าถึง คนส่วนใหญ่ ถ้ามีการสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ก็จะต้อง มีสีสันมีความแปลกและมีความสวยงาม” นอกจาก การสร้างสรรค์วัฒนธรรมสมัยใหม่แต่ยังคงรักษา รากฐานของวัฒนธรรมเดิมให้คงไว้ เพื่อสื่อสารให้ ผู้คนทุกกลุ่มได้เข้าถึงแก่นของหมอลำาหมู่เป็น ประเด็นสำาคัญของความยั่งยืนของหมอลำา en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject หมอลำหมู่, การบริหารจัดการ, กลยุทธ en_US
dc.title หมอลำหมู่ศิลปินภูไท : มิติใหม่ของการจัดการเชิงกลยุทธ en_US
dc.title.alternative Mor lum Mu Sillapinphuthai : A New Dimension of Management of Social Technology. en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor Vrgrammy_kk@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics