ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลของสารต้านอนุมูลอิสระและสารสกัดหยาบเนียมหอมร่วมกับสมุนไพรพื้นบ้าน ต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคบางชนิด

Show simple item record

dc.contributor.author Rattana, pengproh
dc.contributor.author Pawinee, Silaket
dc.contributor.author Santhaya, Boonrung
dc.contributor.author pokchut, Kusolkumbot
dc.date.accessioned 2020-03-16T11:18:52Z
dc.date.available 2020-03-16T11:18:52Z
dc.date.issued 2019-10-30
dc.identifier.citation วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2562 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5938
dc.description.abstract การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคของสมุนไพร 4 ชนิด (เนียมหอม ตะไคร้ ใบเตย และรางจืด) และชาสมุนไพร 4 สูตร ผลจากการทดสอบสารต้านอนุมูลอิสระ พบว่าสารสกัดจากใบเตยมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระดีที่สุดคือมีค่า IC50 8.45 μg/ml และพบว่าชาสมุนไพรสูตร 1 มีค่าในการต้านอนุมูลอิสระดีที่สุดคือมีค่า IC50 10.37 μg/ml และจากการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรค 6 ชนิด พบว่าสารสกัดจากพืชสมุนไพร 4 ชนิด และชาสมุนไพร 4 สูตร มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้แตกต่างกัน โดยพบว่าสารสกัดชาสมุนไพรสูตรที่ 2 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้มากที่สุดจำนวน 5 ชนิด รองลงมาคือสารสกัดจากตะไคร้ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ 4 ชนิด สารสกัดจากเตย ชาสมุนไพรสูตรที่ 1, 3 และ 4 ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ 3 ชนิด และสารสกัดจากเนียมหอม รางจืด ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ 2 ชนิด ตามลำดับ และจากการทดสอบสารสกัดจากสมุนไพรและชาสมุนไพรในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคบางชนิดพบว่าสารสกัดมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกมากกว่าแบคทีเรียแกรมลบ en_US
dc.description.abstract This research aimed to study antioxidant and anti-pathogenic bacterial activities of four Thai herbal extracts and four Thai herbal teas. The results showed that crude extracts of Pandanus amaryllifolius Roxb. had the highest antioxidant activity with the 50% inhibition concentration (IC50) value of 8.45 μg/ml, while the IC50 value of Thai herbal tea (formula 1) was 10.37 μg/ml. Six species of pathogenic bacteria were tested on their resistance properties. It was found that Thai herbal tea formula II inhibited 5 species of pathogenic bacteria, the extract of P. amaryllifolius Roxb inhibited 4 species of bacteria, the extract of Cymbopogon citratus and Thai herbal tea formula I, III, IV could inhibit 3 bacterial species. Lastly, the extracts of Strobilanthes nivea Bremek, Thunbergia laurifolia was able to inhibit only 2 bacterial species. Furthermore, the herbal extracts and tea had antibacterial ability against gram - positive bacteria better than gram-negative bacteria. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject แบคทีเรียก่อโรค สารต้านอนุมูลอิสระ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และเนียมหอม en_US
dc.subject pathogenic bacteria, antioxidant, bioactive compounds and Strobilanthes nivea en_US
dc.subject Research Subject Categories::FORESTRY, AGRICULTURAL SCIENCES and LANDSCAPE PLANNING en_US
dc.title ผลของสารต้านอนุมูลอิสระและสารสกัดหยาบเนียมหอมร่วมกับสมุนไพรพื้นบ้าน ต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคบางชนิด en_US
dc.title.alternative Effect of Antioxidant and Crude Extract of Strobilanthes nivea With Traditional Herbs on Inhibition of Some Pathogenic Bacteria en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics