ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

โครงสร้างและการดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

Show simple item record

dc.contributor.author ปิยากร หวังมหาพร
dc.contributor.author ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ์
dc.contributor.author สุรัตน์ โคอินทรางกูร
dc.contributor.author ธิติ ศรีใหญ่
dc.date.accessioned 2019-11-20T13:12:26Z
dc.date.available 2019-11-20T13:12:26Z
dc.date.issued 2015-12
dc.identifier.citation วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2558 en_US
dc.identifier.isbn 1906-506X
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5839
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง “โครงสร้างและการดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างและการดำเนินงานในปัจจุบันของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและเสนอแนวทางการปฏิรูปสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม ผลการวิจัยพบว่า สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติประสบปัญหาการสรรหาสมาชิกและการให้ความเห็นและข้อเสนอแนะไม่ได้รับการพิจารณาอย่างจริงจัง ในขณะที่สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติประสบกับปัญหาความคล่องตัวในการดำเนินการเนื่องจากมีการบริหารงานแบบระบบราชการ แนวทางการปฏิรูปสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มี 2 แนวทาง ดังนี้ 1) การปฏิรูป สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยการจัดกลุ่มงานต่าง ๆ ของสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติใหม่ เพื่อให้เกิดความคล่องตัว การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ เกิดการกระจายอำนาจในการตัดสินใจมากยิ่งขึ้น และเป็นองค์กรสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา 2) การปฏิรูปสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ en_US
dc.description.abstract The Research is titled “The structure and operation system of the National Economic and Social Advisory Council” aimed to 1) study the structure and operation of the current stage of the office of the National Economic and Social Advisory Council and the National Economic and Social Advisory Council 2) propose the reformation to the office of the National Economic and Social Advisory Council and the National Economic and Social Advisory Council. Moreover, the research had been conducted by the mixed method research in accordance to the research methodology. The findings outstandingly indicated that the recruiting of members was not successfully complied with the plan including raising comments and suggestions derived from the membership were ignored whereas the National Economic and Social Advisory Council had confronted with the unprofessional operation system in term of government administrative system. The researchers; therefore, propose to reform the National Economic and Social in order to reform the National Economic and Social Advisory Council to be an organisation for comments and recommendations on the qualified quality as follows : 1) Reforming “The Office of National Economic and Social Advisory Council” by decentralising the responsible tasks belong to the key department in order to achieve the smoothly effective cooperation and decentralisation of decision-making should be adapted to change environmental conditions over time. 2) Reforming "The National Economic and Social Advisory Council" and "The Office of the National Economic and Social Advisory Council." to work effectively and efficiently. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject โครงสร้างและการดำเนินงาน, สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, Structural and Operation System, The National Economic and Social Advisory Council en_US
dc.title โครงสร้างและการดำเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ en_US
dc.title.alternative The Structure and Operation System of The National Economic and Social Advisory Council en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics