Show simple item record

dc.contributor.advisor ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จารินี ม้าแก้ว en_US
dc.contributor.advisor อาจารย์ณัฐวุฒิ พจน์ปริญญา en_US
dc.contributor.author ธนากร, ศรีราช
dc.contributor.author ธีระพงษ์, ถูกพันธ์
dc.contributor.author อนุวัฒน์, มาปะทา
dc.contributor.author อัฐพล, มัทรี
dc.date.accessioned 2019-10-17T03:11:05Z
dc.date.available 2019-10-17T03:11:05Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5777
dc.description วท.บ.(เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2558 en_US
dc.description.abstract ปริญญานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบและพัฒนาตู้อบข้าวเม่า 2) ทดสอบประสิทธิภาพตู้อบข้าวเม่าและ 3) ประเมินทักษะความเข้าใจความพึงพอใจตู้อบข้าวเม่า ในการออกแบบเน้นให้ตู้อบข้าวเม่านี้ใช้พลังงานไฟฟ้าให้น้อยที่สุด โดยตู้อบข้าวเม่านี้ใช้ ฮีตเตอร์อินฟราเรดแบบเซรามิก ใช้อิฐมวลเบามาทำเป็นฉนวนกันความร้อน อุณหภูมิสูงสุดที่ตู้อบข้าวเม่าเฉลี่ย 292.67 องศาเซลเซียส สามารถบรรจุข้าวเม่าได้สูงสุด 12 กิโลกรัม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น ชั้นละ 4 กิโลกรัม จากการทดสอบถามความพึงพอใจของชาวบ้านที่ทำข้าเม่า พบว่าที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เวลาอบ 15 นาที ความชื้นของข้าวเม่าก่อนอบมีค่า 12 % หลังผ่านการอบค่าความชื้นลดลงเหลือ 3 % ทำให้ได้ความชื้นที่เหมาะแก่การเก็บรักษาข้าวเม่าโป กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยเท่ากับ 612.05 W พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปเท่ากับ 0.153 หน่วย คิดเป็นเงิน 0.536 บาท/ครั้ง หากคิดเทียบใน 1 ชั่วโมง ตู้อบข้าวเม่านี้สามารถอบข้าวเม่าได้ 48 กิโลกรัม ใช้พลังงานไฟฟ้าไป 0.612 หน่วย หรือคิดเป็นเงิน 2.144 บาท ราคาต้นทุนเครื่อง 12,973 บาท en_US
dc.description.abstract This project aims to : 1) design and develop the incubator unripe rice and 2) performance testing. This project design for energy saving by use infrared ceramic heater. The thermal insulation of this project use autoclaved aerated concrete. The maximum temperature inside average at 292.67 ˚c. It can contained unripe rice maximum at 12 kg and divided by three layers, each 4 kg. From intheviews with target group showed that the right temperatre and time for drying unripe rice was 100 ˚c and 15 minutes. The result before drying 12% and after drying reduced to 3%. The average power was 612.05 W and use energy for 0.153 kwh or 0.536 baht / times. The efficiency in 1 hours can drying maximum at 48 Kg. It used the energy for 0.612 kWh or 2.144 Baht. The total cost was 12,973 Baht. en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ตู้อบข้าวเม่า en_US
dc.title.alternative Incubator Unripe Rice. en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า) en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics