ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาต้นทุนการผลิตอ้อยและการขนส่งอ้อยเข้าโรงงาน กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการผลิต 2560/2561

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author แก้วหล่อ, นราวิชญ์
dc.contributor.author ปักเสติ, มุตติวัชญ์
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.date.accessioned 2018-12-14T03:15:01Z
dc.date.available 2018-12-14T03:15:01Z
dc.date.issued 2561-11-26
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4418
dc.description ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์,2561 en_US
dc.description.abstract การศึกษาต้นทุนการผลิตอ้อยและการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานกรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการผลิต 2560/2561 มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา (1) เพื่อศึกษาถึงต้นทุนการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานของเกษตรกร (2) เพื่อศึกษาถึงต้นทุนตามรูปแบบการเพาะปลูกอ้อยของเกษตรกร และ (3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาในการปลูกอ้อย การเก็บเกี่ยว และการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานของเกษตรกร ในการวิจัยครั้งนี้ได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมดคือ 321 คนโดยใช้สูตรของTaro Yamane ทำการรวบรวมข้อมูลจากเกษตรผู้ทำการผลิตอ้อยโรงงานในตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการเพาะปลูก 2560/2561 จานวน 42 ราย เป็นกลุ่มเกษตรกรกรณีลูกไร่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์จากการศึกษาพบว่า ต้นทุนการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานของเกษตรกร กรณีลูกไร่ในพื้นที่ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า การปลูกอ้อยด้วยแรงงานเครื่องมี จานวน 42 คน ต้นทุนค่าแรงงานการปลูกอ้อยเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 1,415.05 บาทต่อไร่หรือ ค่าแรงการปลูกอ้อยเฉลี่ยต่อตันเท่ากับ 85.45 บาทต่อตัน และค่าวัสดุในการปลูกอ้อยเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 4,558.61 บาทต่อไร่ หรือค่าวัสดุในการปลูกอ้อยเฉลี่ยต่อตันเท่ากับ 275.28 บาทต่อตันปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาในการปลูก การเก็บเกี่ยวและการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานของเกษตรกร มีปัญหาหลายด้าน กล่าวคือ ปัญหาด้านการปลูก ได้แก่ การขาดแคลนแหล่งน้าในการปลูกหรือแหล่งน้ำที่มีอยู่ไกลจึงทาให้การขนส่งน้ำลำบากล่าช้าต่อการปลูก แนวทางแก้ไขคือการขุดสระเก็บน้าหรือเจาะน้ำบาดาลเพื่อให้มีแหล่งน้าสาหรับการปลูกหรือการซื้อน้าจากพื้นที่ใกล้เคียงที่ให้สะดวกต่อการปลูกอ้อย ปัญหาสภาพพื้นที่ในแปลงมีตอไม้หรือต้นไม้กีดขวางทำให้ไม่สะดวกในการใช้รถปลูกอ้อยทำให้เกิดความล่าช้าในการปลูกแนวทางแก้ไข้ คือ การขุดตอทิ้งหรือนาเครื่องจักรกลที่สามารถเอาตอไม้หรือต้นไม้ออกได้มาใช้งานปัญหาการขาดแคลนท่อนพันธุ์ที่ดีในการปลูก แนวทางแก้ไข คือ การหาท่อนพันธุ์จากแหล่งที่น่าเชื่อถือหรือซื้อจากโรงงานที่มีการเพาะพันธุ์ขายเพื่อให้ได้ท่อนพันธุ์ที่มีคุณภาพและปัญหาด้านการขนส่ง ได้แก่ ทางขนส่งไม่สะดวก แนวทางแก้ไขคือ ปรับปรุงทางขนส่งให้ดีขึ้นเพื่อให้สะดวกต่อการขนส่งปัญหาหารเก็บเกี่ยวคือการขาดแคลานแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวอ้อยแนวทางแก้ไขคือการร่วมกลุ่มของบุคคลในพื้นที่ที่ว่างงานเพื่อให้เป็นกลุ่มในการเป็นผู้รับจ้างตัดอ้อยด้วยแรงงานคน ปัญหารถตัดอ้อยเหยียบอ้อยหรือทาอ้อยหล่นเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากเนื่องจากรถตัดอ้อยเป็นเครื่องจักรขนาดใหญ่จึงยากที่จะหลบหลีกการเหยียบอ้อย ปัญหาสภาพภูมิอากาศที่มีความเปลี่ยนแปลงไม่เหมาะสมเป็นปัญหาที่ไม่สามารถควบคุมได้ และปัญหาการขนส่งปัญหาการติดคิวอ้อยนานทาให้การขนส่งอ้อยล่าช้า แนวทางแก้ไขคือ โรงงานควรกาหนดคิวอ้อยให้เหมาะสม เพื่อให้เกษตรกรไม่ต้องขับรถอ้อยไปรอคิวที่โรงงานเป็นเวลานานซึ่งจะส่งผลต่อค่าความหวานและน้าหนักอ้อยลดลง en_US
dc.description.abstract Study on Cost of Sugarcane Production and Sugarcane Transport to the Factory Case Study: Tambon Tambol, Amphoe Mueang, Buriram Province Production Year 2560/2561 The objectives of this study (1) to study the cost of cultivation harvesting (2) to study the costs of sugarcane cultivators and (3) to study the problems and obstacles in sugarcane cultivation. harvesting And sugar cane transportation to the plant. In this research, 321 people were randomly sampled using the Taro Yamane formulation. Data were collected from agro-based sugarcane farmers in Thalung Subdistrict, Muang District, Buriram Province. Crop year 2560/2561, 42 farmers were farmers. The questionnaire was used as an educational tool. And the data was analyzed. According to studies, it has been found that Cost of cultivation harvesting And sugar cane transportation to the plant. In the case of rai in Thalung steel district, Muang district, Buriram province, there were 42 workers in sugarcane plantation. Cost of labor was about 1,415.05 baht per rai. Average yield of sugarcane per ton was 85.45 baht / ton and average material cost per rai was 4,558.61 baht / rai or average material cost of sugarcane per ton was 275.28 baht / ton. Problems, obstacles and solutions to problems in planting. Harvesting and transportation of sugarcane into the farmer's factory. There are many problems, such as planting problems, lack of water sources in the plantation or distant water sources, which makes water transportation difficult to delay planting. The solution is to dig a pond or drill groundwater to provide water for planting or purchase water from nearby areas that are convenient for sugarcane cultivation. The problem of thearea in the plots with stumps or tree obstacles makes it difficult to use the sugarcane plant, causing delays in planting. The solution is to dig a dump or to remove the mechanical stumps or trees. The problem of shortage of good varieties to grow solutions is to find the species from a reliable source, or buy from a plant that has been breeding to sell. At the variety, quality and transportation issues, including the inconvenient transportation. Solution is The solution is to reduce the number of laborers involved in harvesting sugarcane. The solution is to join the group of unemployed people in order to be a group of sugar cane cutters. Human labor The problem of cane cutter or cane fell is difficult to solve because the cane cutter is a big machine so it is difficult to dodge the sugar cane. Incorrect climate change is an uncontrollable problem. The problem of sugarcane crashes has been causing delays in transportation of sugarcane. Solution is The factory should set the sugar cane properly. The farmers do not have to drive sugarcane to wait at the plant for a long time, which will affect the sweetness and sugar cane weight decreased. Keywords: cost of production, harvesting, transportation, sugarcane planting en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject cost of production, harvesting, transportation, sugarcane planting ต้นทุนการผลิต, การเก็บเกี่ยว, การขนส่ง , การปลูกอ้อย en_US
dc.title การศึกษาต้นทุนการผลิตอ้อยและการขนส่งอ้อยเข้าโรงงาน กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการผลิต 2560/2561 en_US
dc.title.alternative Study on Cost of Sugar Cane Production and Sugarcane Transportation to the Factory.Case Study: Tambon Tambol, Amphoe Mueang, BuriRam Production Year 2560/2561 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต(วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics