ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลของการใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโคในการผลิตหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1

Show simple item record

dc.contributor.author ชัยรินทร์, ทักษะ
dc.contributor.author ดียิ่ง, ทศพร
dc.contributor.author วัฒนพายัพกุล, วนิดา
dc.contributor.author สานุสันต์, สุชาดา
dc.contributor.author หลวงจำนง, ปรีชา
dc.date.accessioned 2018-04-20T05:45:54Z
dc.date.available 2018-04-20T05:45:54Z
dc.date.issued 2561-02-26
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017” “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยังยืน)"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุรินทร์ en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4181
dc.description.abstract งานวิจัยนี/มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโคในการผลิตหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล๊อค (Randomized complete block design: RCBD) ทดลองกับหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ปลูกในแปลงขนาด 1x4 เมตร แบ่งการทดลองออกเป็น 4 กรรมวิธีๆ ละ 4 ซํ/าๆ ละ 14 หลุมๆ ละ 3ท่อนพันธุ์ ใช้ระยะเวลา 45 วัน โดยมีกรรมวิธีดังนี/ กรรมวิธีที่ 1 ดินศูนย์ปฏิบัติการอุดมศึกษาหนองขวางไม่ปรับปรุงดิน กรรมวิธีที่ 2 ดินศูนย์ฯปรับปรุงดินด้วยมูลโค 5 กิโลกรัม กรรมวิธีที 3 ดินศูนย์ฯ ปรับปรุงดินด้วยปอเทือง และมูลโค 5 กิโลกรัม และกรรมวิธีที่ 4 ดินศูนย์ฯ ปรับปรุงดินด้วยปอเทืองและมูลโค 6 กิโลกรัม ผลการศึกษาพบว่า ความสูงต้น จำนวนหน่อต่อกอ และจำนวนใบต่อต้นทีปลูกได้ 21, 35 และ 45 วัน มีความแตกต่างกันอย่างยิ่ง ทางสถิติ (p<0.01) โดยทีก ารใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโค 6 กิโลกรัมส่งผลต่อการเจริญเติบโตมากทีส) ุด รองลงมาคือการใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโค 5 กิโลกรัม ส่วนการใช้มูลโคอย่างเดียวไม่แตกต่างจากการทีไม่ใช้ ส่วนผลิตรวมต่อกรรมวิธี น้ำหนักสด และน้ำหนัก แห้งมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งทางสถิติ (p<0.01) โดยที่การใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโค 6 กิโลกรัมได้ผลดีทีสุด สรุปควรใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโค 6 กิโลกรัมในการปรับปรุงดินเพื่อปลูกหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 en_US
dc.description.abstract The purpose of this research was to investigate the influence of Crotalaria Juncea and cattle manure on the production of Napier Pakchong 1. Randomized complete block design (RCBD) was experimented withNapier Pakchong 1. Planted in a plot of 1 * 4 meters, the experiment was divided into 4 treatments of 4 replications, each with 14 holes and each with 3 breed pieces. The method takes 21, 35 and 45 days as follows: Process 1 the soil of Nong Khwang Higher Education Operation Center does not improve the soil.Process 2 the Soil of the Center was improved with 5 kilograms of cattle manure. Process 3 the soil of the Center was improved with Crotalaria Juncea and 5 kilograms of cattle manure. Process 4 the soil of the Center was improved with Crotalaria Juncea and6 kilograms of cattle manure. The results showed that height of the tree, number of shoots per clump and number of leaves per plant grown in 45 days was statistically significantly different (p <0.01). By the using of Crotalaria Juncea and 6 kilograms of cattle manure affects most growth, secondary is the use of Crotalaria Juncea and 5 kilograms of cattle manure and the use of cattle manure alone is not different from not using. Total production per process, weight before drying andweight gain after drying were significantly different (p <0.01). By the using of Crotalaria Juncea and 6 kilograms of cattle manure works the best result. It should be used together with 6 kg of cattle manuretoimprove the soil to grow Napier PakChong 1. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ปอเทือง, มูลโค, การผลิต, หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1,Crotalaria juncea, Cattle Manure, production, Napier Pakchong en_US
dc.title ผลของการใช้ปอเทืองร่วมกับมูลโคในการผลิตหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 en_US
dc.title.alternative Effects of Crotalaria juncea and Cattle Manure application on Napier Pakchong 1 production en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor Taksa774@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics