ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชน กรณีศึกษา: ศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า ต าบลหูท านบ อ าเภอปะค า จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ธงรบ ขุนสงคราม
dc.date.accessioned 2018-03-02T02:23:19Z
dc.date.available 2018-03-02T02:23:19Z
dc.date.issued 2561-01-16
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3924
dc.description บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ป่าชุมชน 2) ศึกษาสถานการณ์ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของป่าชุมชน และ 3) เพื่อหาแนวทางการ อนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชน ด าเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Action Research : PAR) ผู้วิจัยท าการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม การจัดเวทีวิเคราะห์ปัญหา การเดินส ารวจ และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชนศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า พบว่า คนในชุมชนมีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปลูกพืชหมุนเวียน การปล่อยหญ้าช่วยยึด คันนา การสืบชะตาน้ า การสร้างฝายกั้นน้ า และการอนุรักษ์ป่าไม้ ตามความเชื่อเรื่องป่าดอนปู่ตา การ บวชป่า และท าบุญป่า 2. สถานการณ์ปัญหาการเปลี่ยนแปลงป่าชุมชนศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า เริ่มเกิดขึ้นในปี พุทธศักราช 2528 โดยหน่วยงานทางราชการได้ให้ประชาชนในพื้นที่จับจองพื้นที่ป่าชุมชนเพื่อท าเป็น พื้นที่เกษตร ท าให้คนในชุมชนเข้าไปจับจองพื้นที่ป่าชุมชน โดยไม่ทราบข้อมูลว่าเป็นพื้นที่ราชพัสดุของ กรมธนารักษ์ นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มนายทุนเข้าไปบุกรุกแผ้วถางครอบครองท าประโยชน์ในพื้นที่ ดังกล่าว ทั้งปลูกยางพารา มันส าปะหลัง ยูคาลิปตัส ป่าชุมชนจึงไม่สามารถฟื้นตัวได้ และที่ผ่านมาคน ในชุมชนไม่มีแนวทางในการป้องกันรักษาทรัพยากรป่าชุมชนอย่างชัดเจน 3. แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชนศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า ผลจากการใช้ประโยชน์จากป่า ชุมชน คิดเป็นมูลค่าที่เกิดจากป่าชุมชนทั้งใช้กินและน าไปจ าหน่าย เป็นจ านวนเงิน 232,545 บาท/ต่อ ปี จึงเป็นชุดข้อมูลในการตัดสินใจให้กับชุมชนได้วางแผนในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท าลายป่าชุมชน และหาแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชนอย่างคุ้มค่า ได้แก่ การตั้งกฎกติกาและบทลงโทษ แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า เป็นคณะกรรมการดูแลรักษาป่าชุมชน มีอ านาจตักเตือน ปรับ จับส่ง ด าเนินคดีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สร้างเขตพื้นที่อนุรักษ์ป่าชุมชน สร้างหลักสูตรท้องถิ่นด้านพืช สมุนไพร และการประยุกต์ใช้ทุนทางวัฒนธรรมมาจัดการป่าชุมชน เช่น การประกาศให้วันที่ 12 1019 สิงหาคมของทุกปี คนในชุมชนจะต้องร่วมกันท าบุญป่า บวชป่า ปลูกป่าในพื้นที่สาธารณะของหมู่บ้าน ชุมชน ท าความสะอาดแหล่งน้ า เพื่อเป็นการป้องกันรักษาป่าชุมชนไม่ให้ถูกท าลายอีกต่อไป en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การอนุรักษ์ฟื้นฟู en_US
dc.subject ป่าชุมชน en_US
dc.subject การประยุกต์ใช้ en_US
dc.subject ภูมิปัญญาท้องถิ่น en_US
dc.subject reserve en_US
dc.subject restore en_US
dc.subject community forest en_US
dc.subject apply en_US
dc.subject local wisdom en_US
dc.title การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชุมชน กรณีศึกษา: ศูนย์อุดมศึกษาฯปะค า ต าบลหูท านบ อ าเภอปะค า จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative The Application of Local Wisdom for Reserving and Restoring the Community Forest: a Case Study of Center for Higher Education Pakam, Hutamnob Sub-district, Pakam District, Buriram Province en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics