ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิด การเรียนรู้ร่วมกัน และรูปแบบการแปลงของเลช สู่แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาครูยุคใหม่

Show simple item record

dc.contributor.author เกษสุดา บูรณพันศักดิ์
dc.contributor.author ชานนท์ จันทรา
dc.contributor.author สิริพร ทิพย์คง
dc.contributor.author ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์
dc.date.accessioned 2018-02-28T07:42:33Z
dc.date.available 2018-02-28T07:42:33Z
dc.date.issued 2561-01-16
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 พ.ศ.2561 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3897
dc.description บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อน าเสนอกระบวนการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ส าหรับ นักศึกษาครูที่พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิด การเรียนรู้ร่วมกัน และรูปแบบ การแปลงของเลช โดยแนวคิดการเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิดมีหลักการส าคัญคือผู้สอนควรจัดการ เรียนการสอนบนพื้นฐานความรู้ของผู้เรียนและผู้เรียนจะเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ดีที่สุดด้วยการ แก้ปัญหา โดยมีผู้สอนเป็นผู้คอยรับฟัง ซักถาม และเสริมต่อความคิดเพื่อพัฒนาการคิดและการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะได้พัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งทักษะที่จ าเป็นต่างๆ ทั้งทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้วยการลงมือปฏิบัติการแก้ปัญหาด้วย ตนเองและเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น โดยการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับเพื่อนไม่ว่าจะเป็นความรู้ ทรัพยากร และแหล่งข้อมูลอื่นๆ รวมถึงการ ช่วยเหลือและการรับฟัง ความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดการ เรียนรู้ร่วมกันที่เน้นให้ผู้เรียนและสมาชิกในกลุ่มได้มีอิสระในการสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน รวมถึงการสร้างทักษะทางสังคมในการท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ผู้เรียนจะมี ความรู้ความเข้าใจทางคณิตศาสตร์อย่างถูกต้องและชัดเจนมากขึ้น นอกจากการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ จริงแล้ว ผู้เรียนควรได้รับโอกาสในการสร้างและน าเสนอความรู้ทางคณิตศาสตร์ผ่านตัวแทนทาง คณิตศาสตร์ในรูปแบบต่างๆ 5 รูปแบบ คือ 1) สื่อรูปธรรม 2) ภาพ 3) ภาษา 4) สัญลักษณ์ และ 5) สถานการณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ตามแนวคิดรูปแบบการแปลงของเลช ซึ่งแนวคิดนี้จะท าให้ ผู้เรียนสามารถสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ที่มีความเป็นนามธรรมได้ง่ายและ ถูกต้อง ส่งผลให้ผู้เรียนมี ความคงทนในการเรียนรู้ จากแนวคิดทั้งสามที่กล่าวมาสามารถน ามา บูรณาการเพื่อพัฒนาเป็นกระบวนการเรียน การสอนทางคณิตศาสตร์ส าหรับนักศึกษาครูได้ 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความพร้อมและเชื่อมโยงความรู้ใหม่ 2) ขั้นพัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์ 3) ขั้นขยายความรู้ร่วมกัน 4) ขั้นน าเสนอและสรุปความรู้ร่วมกัน และ 5) ขั้นเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ ความรู้ en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิด en_US
dc.subject การเรียนรู้ร่วมกัน en_US
dc.subject รูปแบบการแปลงของเลช en_US
dc.subject นักศึกษาครู en_US
dc.subject Cognitively Guided Instruction en_US
dc.subject Collaborative Learning en_US
dc.subject The Lesh Translation Model en_US
dc.subject Preservice Teacher en_US
dc.title การเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิด การเรียนรู้ร่วมกัน และรูปแบบการแปลงของเลช สู่แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักศึกษาครูยุคใหม่ en_US
dc.title.alternative Cognitively Guided Instruction, Collaborative Learning, and the Lesh Translation Model to Learning Management Guideline for Develop Mathematical Knowledge of Preservice Teacher in Modern Age en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics