ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาผลของขี้เลื่อยไม้ยางพารา แกลบ ฟางข้าว และชานอ้อย ที่มีผลต่อการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้า

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์อารยา มุสิกา en_US
dc.contributor.author นุชนารถ, สุนารี
dc.contributor.author ชาญณรงค, ทินวัฒน์
dc.contributor.author มุสิกา, อารยา
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2018-01-25T02:00:47Z
dc.date.available 2018-01-25T02:00:47Z
dc.date.issued 2560-12-23
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3699
dc.description วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์,2560 en_US
dc.description.abstract การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเปรียบเทียบชนิดของวัสดุเพาะที่แตกต่างกันซึ่ง ได้แก่ ขี้เลื่อยไม้ยางพารา ฟางข้าวสับ ต้นกล้วยสับ และใบจามจุรี ในอัตราส่วน 70:30 ที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า โดยการทดลองนี้วางแผนการทดลองแบบ (Completely Randomized Design: CRD) ประกอบด้วย 4 สิ่งการทดลอง 30 ซ้ำ ซ้ำละ 1 หน่วยการทดลองรวมเป็น 120 หน่วย การทดลอง บันทึกข้อมูลโดยการชั่งน้ำหนักสด(กรัม) น้ำหนักแห้ง(กรัม) จำนวนดอก(ดอก) และขนาด ของดอก(เซนติเมตร) เมื่อสิ้นสุดการทดลองวิเคราะห์ความแปรปรวนและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของแต่ละกรรมวิธี ด้วย Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ผลการทดลอง พบว่า ด้านน้ำหนักสดที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ T3(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา + ต้นกล้วยสับ อัตราส่วน 70:30) รองลงมาคือ T1(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100%) มีน้ำหนักสด 41.76, 38.02 กรัม ตามลำดับ ด้านน้ำหนักแห้งที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ T3(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา + ต้นกล้วยสับ อัตราส่วน70:30) รองลงมาคือ T1(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100%) มีน้ำหนักแห้ง 4.47, 3.39 กรัม ตามลำดับด้านจำนวนดอกเห็ดที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ T3(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา + ต้นกล้วยสับ อัตราส่วน70:30) รองลงมาคือ T2(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา + ฟางข้าวสับ อัตราส่วน 70:30) มีจำนวนดอกเห็ด 8.02,5.80 ดอก ตามลำดับ ด้านขนาดของดอกเห็ดที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ T3(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา + ต้นกล้วยสับ อัตราส่วน 70:30) รองลงมาคือ T1(ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100%) มีขนาดดอกเห็ด 6.72, 6.24เซนติเมตร ตามลำดับดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การนำต้นกล้วยสับผสมขี้เลื่อยไม้ยางพาราในอัตราส่วน 70 : 30 สามารถนำมาใช้เป็นวัสดุเพาะทดแทนขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100% เนื่องจากให้ผลผลิตด้านน้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง จำนวนดอก และขนาดดอกมากที่สุด ตลอดจนเป็นการนำวัสดุที่เหลือใช้ในท้องถิ่นมาทำให้เกิด ประโยชน์และมีคุณค่ามากขึ้น คำสำคัญ : การเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า, ขี้เลื่อยไม้ยางพารา, ฟางข้าว, ต้นกล้วย, ใบจา,จุรี en_US
dc.description.abstract The aim of this study was to Comparative study Kind of material at Different These include rubber wood sawdust, rice straw chopped, banana tree chopped and rain tree in ratio 70:30 Affect Growth of sarjor-caju mushrooms the experimental model (Completely Randomized Design: CRD) contains 4 treatments 30 repeated and repeated by one of the trials a total of 120 units of the trial. Save the information by fresh weight (g), dry weight (g), number of mushroom, mushroom size (cm). At the end of the trial analysis of the variance and compare the average of Treatment with Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) The fresh weight with the highest average is (T3 rubber wood sawdust + banana tree chopped in ratio 70:30) minor the (T1 rubber wood sawdust 100%) had fresh weight 41.76, 38.02 g. respectively. The dry weight with the most average is (T3 rubber wood sawdust + banana tree chopped in ratio 70:30) minor the (T1 rubber wood sawdust 100%) had dry weight 4.47, 3.39 g. respectively. The number of mushroom with the highest average is (T3 rubber wood sawdust + banana tree chopped in ratio 70:30) minor the (T2 rubber wood sawdust + rice straw chopped in ratio 70:30) had number of mushroom 8.02, 5.80 respectively. The mushroom size that are on average the most is (T3 rubber wood sawdust + banana tree chopped in ratio 70:30) minor the (T1 rubber wood sawdust 100%) had mushroom size 6.72, 6.24 cm. respectively. These results suggest that piloting rubber wood sawdust of blend banana tree chopped in ratio 70:30 Can be used as seeding material 100% rubber wood sawdust owing to The yield fresh weight, dry weight, number of flowers, and mushroom size as well as bringing local materials to the benefit and more valuable. Keywords: Growth of fairy mushrooms, Rubber wood sawdust, Straw, Banana tree, Rain tree en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้า, ขี้เลื่อยไม้ยางพารา, ฟางข้าว, ต้นกล้วย, ใบจาจุรี,Growth of fairy mushrooms, Rubber wood sawdust, Straw, Banana tree, Rain tree en_US
dc.title การศึกษาผลของขี้เลื่อยไม้ยางพารา แกลบ ฟางข้าว และชานอ้อย ที่มีผลต่อการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้า en_US
dc.title.alternative The study effect of rubber sawdust, rice-husk, rice straw and bagasse on Sarjor-caju Mushroom growth en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.degree.level ปรีญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics