ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

เปรียบเทียบอัตราส่วนของการใช้น้ำทิ้งโรงงานแปรรูปนม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ร่วมกับธาตุอาหารพืชไร้ดิน A+B เพื่อยกระดับคุณภาพผลผลิตโหระพา (Ocimum Basilicum Linn) ระบบไฮโดรบล็อกแบบระบบน้ำหมุนเวียน

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author ศรีโสดา, ธีระศักดิ์
dc.contributor.author เจิงรัมย์, อัษฏาวุฒิ
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2018-01-12T07:28:07Z
dc.date.available 2018-01-12T07:28:07Z
dc.date.issued 2017-12-24
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3583
dc.description วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2560 en_US
dc.description.abstract เปรียบเทียบอัตราส่วนของการใช้น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ร่วมกับธาตุอาหารพืชไร้ดิน A+B เพื่อยกระดับคุณภาพผลผลิตโหระพาที่ปลูกในระบบไฮโดรบล็อกแบบระบบน้้าหมุนเวียน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากน้ำทิ้งของโรงงานแปรรูปนม และศึกษาอัตราส่วนของน้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมร่วมกับสารละลายธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมในการใช้ปลูกผักโหระพา โดยใช้สารละลายธาตุอาหาร A และ B ร่วมกับน้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ในอัตราส่วนต่างๆ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 4 ชุดการทดลอง ได้แก่ 30:0 (น้ำประปา 30 ลิตร : ปุ๋ย A 60 ml +B 60 ml) 0:30(น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมฯ 30 ลิตร ไม่ผสมปุ๋ยA+B) 15:15 (ประปา 15 ลิตร : ปุ๋ย A 30 ml +B 30 ml : น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมฯ 15 ลิตร) 10:20(น้ำประปา 10 ลิตร ไม่ใส่ปุ๋ยA+B : น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมฯ 20 ลิตร) ทำการทดลองจำนวน 2 ซ้ำ ๆ ละ 8 ต้น พืชที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ผักโหระพา โดยเก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของพืชทุก 14 วัน เป็นเวลา 6 สัปดาห์ และควบคุมค่า Ec อยู่ในช่วง 1.0-1.5 และ pH อยู่ในช่วง 6.0–6.5 ผลการทดลอง พบว่า น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการนำมาปลูกพืชในระบบไร้ดินได้ เมื่อพิจารณาจากการเจริญเติบโตของผักโหระพาจะเห็นได้ว่าผักโหระพามีการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ และ จำนวนใบ และเมื่อนำน้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปนมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ใช้ร่วมกับสารละลายธาตุอาหาร A และ B ในอัตราส่วน 15:15 จะมีความเหมาะสมที่สุดในการปลูกผักโหระพาในระบบไร้ดิน เนื่องจากมีปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะสมที่พืชสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้ อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยA+B ลงได้อย่างน้อยครึ่งหนึ่งของปริมาณการใช้ปุ๋ยตามปกติ ค้าส้าคัญ : ผักโหระพา, น้้าทิ้ง, โรงงานแปรรูปนมฯ ,ระบบพืชไร้ดิน, ไฮโดรบล็อก en_US
dc.description.abstract Comparison of ratio of effluent from dairy processing plant Buriram Agriculture and Technology College together with A + B soil nutrient to improve the quality of basil (Ocimum basilicum Linn) in hydrobox system Using renewable water system. The purpose of this study was to investigate the use of wastewater from dairy processing plants. The ratio of effluent from dairy processing plant to the appropriate plant nutrient solution was determined. Using a solution of nutrients A and B together with the effluent from the dairy processing plant at Buriram Agriculture and Technology College in various ratios, the experiment was completed in a completely randomized design (CRD) with 4 sets of experiments, namely 30: 0 (water supply 30 liters: 0:30 (30 liters of milk from a dairy plant, no fertilizer A + B) ,15:15 (30 liters of milk from a dairy plant, no fertilizer A + B) and 10: 20 (10 liters of water, no fertilizer A + B: 20 liters of milk HMS) was performed 2 to 8 replications of the plants used in the trial. Basil The plant growth data were collected every 14 days for 6 weeks and control of Ec value ranged from 1.0 to 1.5 and the pH ranged from 6.0 to 6.5. The results showed that the wastewater from the Buriram Agriculture and Technology College could be utilized to grow plants in a soilless system. Based on the growth of basil, it was found that basil leaves affected leaf and leaf growth, and ง when the wastewater from the dairy processing plant, Buriram Agricultural and Technology College, was mixed with nutrient solutions A and B at a ratio of 15:15. It is best to plant basil in a soilless system. Because of the appropriate amount of nutrients that plants can use. It also reduces the amount of fertilizer A + B. At least half of normal fertilizer consumption. Keywords: basil, wastewater milk processing , hydroponics, hydrobox en_US
dc.description.sponsorship Burirum Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผักโหระพา, น้ำทิ้ง, โรงงานแปรรูปนมฯ ,ระบบพืชไร้ดิน, ไฮโดรบล็อก,basil, wastewater milk processing , hydroponics, hydrobox en_US
dc.title เปรียบเทียบอัตราส่วนของการใช้น้ำทิ้งโรงงานแปรรูปนม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ร่วมกับธาตุอาหารพืชไร้ดิน A+B เพื่อยกระดับคุณภาพผลผลิตโหระพา (Ocimum Basilicum Linn) ระบบไฮโดรบล็อกแบบระบบน้ำหมุนเวียน en_US
dc.title.alternative Comparison of ratio of effluent from dairy processing plant Buriram Agriculture and Technology College together with A + B soil nutrient to improve the quality of basil (Ocimum basilicum Linn) in hydrobox system Using renewable water system en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.degree.level ปรีญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics