ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการผ่าหน่อกล้วยน้ำว้าต่อการเจริญเติบโตของกล้วยน้าว้าพันธุ์พื้นเมือง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วนิดา วัฒนพายัพกุล en_US
dc.contributor.author บุญล้อม, วรากรณ์
dc.contributor.author เสาวพันธ์, วิศรุศ
dc.date.accessioned 2018-01-12T07:11:57Z
dc.date.available 2018-01-12T07:11:57Z
dc.date.issued 2017-12-24
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3582
dc.description วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2560 en_US
dc.description.abstract การขยายพันธุ์กล้วยน้ำว้าพันธุ์พื้นเมืองโดยการผ่าหน่อ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ผลิตต้นให้ได้จำนวนมากในระยะเวลาอันสั้น ก่อนน้าต้นไปปลูกในดินการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบวิธีการผาหน่อกล้วยน้ำว้าพันธุ์พื้นเมืองที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในระยะที่1 (30วัน) ระยะที่ 2 (60วัน)ทำการทดลองที่ศูนย์ปฏิบัติการอุดมศึกษาหนองขวาง คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ วางแผนการทดลองสมบูรณ์แบบ Completely Randomized Design:, (CRD) มี 4 กรรมวิธีจำนวน 4 ซ้ากรรมวิธี 1 ไม่ผ่าหน่อ (ควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 ผ่าหน่อสองส่วน กรรมวิธีที่ 3 ผ่า หน่อสามส่วน กรรมวิธีที่ 4 ผ่าหน่อสี่ส่วน ผลการทดลอง พบว่าวัดความสูงของกล้วยน้ำว้า จำนวนใบของกล้วยน้ำว้า ความกว้างของใบกล้วยน้ำว้า ความยาวของใบกล้วยน้าว้าทั้ง 2 ระยะการเจริญเติบโตไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่มีแนวโน้มว่า กรรมวิธีแบบไม่ผ่าหน่อกล้วยมีผลทำให้ความสูง ความกว้าง ความยาวใบ ในระยะที่1 และระยะที่ 2 มีความสูงถึง 17.25 และ 23.25 เซนติเมตร ความกว้าง 14.79 และ 18.39 เซนติเมตร ความยาวใบ 22.12 และ 30.69 เซนติเมตร ตามลำดับ ส่วนกรรมวิธีที่ 3 มีผลทำให้จำนวนใบกล้วยในระยะที่ 2 มีมากที่สุดถึง 3 ใบ คำส้าคัญ: รูปแบบการผ่าหน่อ , กล้วยน้ำว้าพันธุ์พื้นเมือง , สำหรับการขยายพันธุ์ en_US
dc.description.abstract Propagation of Namwa native banana variety is the way to produce a large number of plants in a short time before planting in soil. The objective of this study aim to suitability performance of corm division for banana growth in phase 1 (30days) and phase 2 (60 days). The experimental were done at Nong Kwang academic training center, faculty of Agricultural technology, BuriramRajabhat University. A Completely randomized design: CRD of four treatments and four replications was used in this study. The performance of corm division consisted of treatment 1)no corm division (control), treatment 2) 2 corm division, treatment 3) 3 corm division and treatment 4) 4 corm division in this experiment. The results showed thatheight,leaf number, leaf width and length of growth were not significantly different. Therefore, no corm division resulted in height; width and length of leaves in the first and second stages were 17.25 and 23.25 cm in height, 14.79 and 18.39 cm in width, leaf length of 22.12 and 30.69 cm, respectively. The 3 of corm division The third treatment resulted in the highest number of banana leaves in the second stage. Keywords: Corm division, Namwa native banana variety, propagation en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat Unuversity en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการผ่าหน่อ , กล้วยน้ำว้าพันธุ์พื้นเมือง , สำหรับการขยายพันธุ์,Corm division, Namwa native banana variety, propagation en_US
dc.title ผลการผ่าหน่อกล้วยน้ำว้าต่อการเจริญเติบโตของกล้วยน้าว้าพันธุ์พื้นเมือง en_US
dc.title.alternative Effect of corm division on Growth of Namwa native banana variety en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.degree.level ปรีญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต en_US
dc.contributor.emailauthor wanida3403@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics