ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการพัฒนาโจทยที่มาจากความตองการของชุมชนบานเสม็ด ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author อุทิศ ทาหอม
dc.date.accessioned 2017-12-02T14:46:54Z
dc.date.available 2017-12-02T14:46:54Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3410
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาโจทยวิจัยที่มาจากความตองการของชุมชนบานเสม็ด ตําบล หนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย มีวัตถุประสงคของการวิจัย คือ 1. เพื่อศึกษาความตองการใน การแกไขปญหาของชุมชนบานเสม็ดผานกระบวนการพัฒนาโจทยวิจัยระหวางนักวิชาการกับคนในชุมชน2. เพื่อคนหาเทคนิควิธีการใหไดมาซึ่งโจทยวิจัยระหวางนักวิชาการและคนในชุมชนบานเสม็ด ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย 3. เพื่อพัฒนาโจทยวิจัยใหเปนขอเสนอโครงการวิจัยรวมกับชุมชนบานเสม็ด อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมยคณะผูศึกษาใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling) และใชวิธีการสุมตัวอยางแบบการเลือกแบบอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) เก็บขอมูลผูที่เขามาเปนอาสาสมัครนักวิจัยชุมชน พรอมทั้งเขารวมเวทีพัฒนาโจทยวิจัยของชุมชน พรอมทั้งเปนผูรูดานการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน โดยมี กลุมเปาหมายหลัก และ กลุมเปาหมายรอง ประกอบดวย ผูนําชุมชน ผูอาวุโส ประชาชนบานเสม็ด และนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย รวมทั้งสิ้น 210 คนผลการศึกษา พบวา การพัฒนาโจทยวิจัยแบงออกเปน 3 ขั้นตอน ไดแก 1. กอนลงพื้นที่พัฒนาโจทยวิจัยกอนจะลงพื้นที่พัฒนาโจทยวิจัย 2. การจัดเวทีรวมกับชุมชน 3. การประเมินสรุปผล ดังนั้นกอนลงพื้นที่พัฒนาโจทยวิจัยทีมวิจัยมีการวางแผนกอนทุกครั้ง โดยเปนการเตรียมคําถามในการพัฒนาโจทยวิจัย เทคนิควิธีการคนหาโจทยวิจัยที่มาจากความตองการของชุมชน การลงพื้นที่พัฒนาโครงการวิจัยรวมกับชุมชนในอันดับแรกทีมวิจัยจะศึกษาขอมูล บริบทชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมริมแมน้ําชีที่เกิดปญหาการบุกรุก และการใชประโยชนในเชิงทําลาย พรอมทั้งปญหาการนําขยะเขาไปทิ้งภายในปาชุมชนริแมน้ําชี การจัดเวทีพัฒนาโจทยวิจัยครั้งที่ 1 “ชวนคิด ชวนคุย” คนหาประเด็นวิจัย ทีมวิจัยใชเครื่องมือการสนทนาพูดคุย การแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยตั้งคําถามวา สิ่งดี ๆ ที่มีอยูในชุมชน โดยเขียนการแผนที่ความคิด (Mind Map) เปนการวาดแผนฝงเชื่อมโยงความคิด และมีการแยกยอยของแตละสถานการณปญหา เพื่อทําใหคนในชุมชนมองเห็นการเชื่อมโยงของแตละประเด็น พบวา ภายในชุมชนบานเสม็ดมีกลุมอาชีพตาง ๆ หลากหลาย หลังฤดูกาลทํานา ไดแก กลุมทํากระถางตนไม กลุมทําปุย กลุมทําเกษตร กลุมเลี้ยงปลา กลุมเลี้ยงกบ และเพาะปลูกพืชผักสวนครัว เมื่อประชาชนปลูกผักมากขึ้น สงผลใหผลผลิตลนตลาด และประสบปญหาวัชพืชทําลายผลผลิตทางการเกษตร ในที่สุดประชาชนจํานวนมากตัดสินใจเลิกทำเนื่องจากขาดความรูในการจัดการเรื่องผลผลิตและการกําจัดวัชพืช en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาโจทยวิจัย ความตองการของชุมชน en_US
dc.title แนวทางการพัฒนาโจทยที่มาจากความตองการของชุมชนบานเสม็ด ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Guidelines for Developing Research Problem Derived from Community’s Needs of Samed Village, Nong Teng Sub-district, Krasang District, Buriram Province en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics