ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กระบวนการคนโจทยวิจัยแบบมีสวนรวมสรางเสริมสุขภาวะชุมชนดวยภูมิปญญาทองถิ่น บานหวา ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author คคนางค ชอชู
dc.date.accessioned 2017-12-02T14:34:52Z
dc.date.available 2017-12-02T14:34:52Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3406
dc.description.abstract กระบวนการคนหาโจทยวิจัยแบบมีสวนรวมการจัดการภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสรางเสริมสุขภาวะ ชุมชนบานหวา ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1) เพื่อ ศึกษาบริบทชุมชนบานหวา 2) เพื่อศึกษากระบวนการมีสวนรวมของคนหาประเด็นภูมิปญญาทองถิ่นที่ ใชในการสรางเสริมสุขภาวะชุมชนบานหวา กลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนชุมชนบานหวา ประกอบดวย หมู 5 หมู 9 และหมู 15 ไดแก ผูนําชุมชน ผูอาวุโส ปราชญชาวบาน อสม. ชาวบาน ดวยการวิจัยเชิงพื้นที่(Community-based Research : CBR) ใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research : PAR) ผลการวิจัยพบวา บริบทชุมชนบานหวาเปนกลุมชนชาติพันธุเขมรที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทรกอตั้งชุมชนมายาวนานกวา 111 ป กลุมชาติพันธุเขมรจะมีความเชื่อในสิ่งเหนือธรรมชาติ การเคารพบรรพบุรุษยึดมั่นในขนบ ธรรมเนียม ประเพณีดั้งเดิม มีผลตอ ความสัมพันธทางสังคมที่ดี และเอื้ออาทรตอกันมี สถานที่สําคัญที่เชื่อมโยงผูคน ไดแก วัดบานหวา วัดทุงตะวัน ศาลเจาพอโพธิ์ทอง โรงเรียน แหลงน้ําหนองหวา เปนศูนยรวมกิจกรรมของคนในชุมชน การคนหาประเด็นภูมิปญญาเพื่อการสรางเสริมสุขภาวะดวยกระบวนการมีสวนรวมเริ่มจากการ หาทีมนักวิจัยที่เปนคนที่อยูในชุมชน ใชเวทีการประขุมแลกเปลี่ยนสนทนากลุมรวมกันในประเด็นนิยาม สุขภาวะ บริบทชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่นชุมชนบานหวา การคัดเลือกภูมิปญญาเพื่อสรางเสริมสุขภาวะ ชุมชน ดวยการพิจารณาภูมิปญญาที่เปนภูมิปญญาชุมชนมากกวาภูมิปญญาระดับปจเจก การหารือ รวมกันของคนในชุมชนจนสามารถเลือกภูมิปญญาที่นานําไปสงเสริมสุขภาวะชุมชน คือ 1) ดนตรี พื้นบานดวยมีเหตุผลรวมกันที่วาดนตรีสามารถเชื่อมโยงคนหลายวัย หลายกิจกรรมของชุมชน ดนตรีไดนั้นตองใชความสัมพันธเปนกลุมที่สงผลทั้งสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสังคม นอกจากนี้ดนตรียังเปนสามารถบําบัดรักษาในพิธีกรรม “รํามะมวด” ที่เปนความเชื่อตอการทํานายตามความเชื่อของชาวเขมรเปนการรักษาผูที่เจ็บปวยอันเนื่องมาจากการทําผิดผีบรรพบุรุษ 2) ประเพณีทองถิ่น เชน แซนโดนตาตามความเชื่อเคารพบรรพบุรุษ ชวงเทศกาลแซนโดนตาชาวบานจะไปทําบุญที่วัด สะทอนใหเห็นวาการไปวัดนั้นมีผลตอจิตใจไปแลวสบายใจโดยเฉพาะการไดทําบุญใหตายายที่เปนบรรพบุรุษ ไดรวมญาติ ยิ่งทําใหมีความสุข เทศกาลออกพรรษา สงกรานต เปนตน en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ูภูมิปญญาทองถิ่น สุขภาวะชุมชน การมีสวนรวม en_US
dc.title กระบวนการคนโจทยวิจัยแบบมีสวนรวมสรางเสริมสุขภาวะชุมชนดวยภูมิปญญาทองถิ่น บานหวา ตําบลหนองเต็ง อําเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Process for Research Topic with Participatory Management of Local Knowledge to Improve the Local People’s Health in Ban Wa, Nong Teng Subdistrict, Krasang District, Buriram Province en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics