ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการพัฒนาธุรกิจรีสอร์ท กรณีศึกษาเรือนนางรองรีสอร์ท เมืองนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ทศพร แก้วขวัญไกร
dc.date.accessioned 2017-12-01T09:28:37Z
dc.date.available 2017-12-01T09:28:37Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3360
dc.description.abstract การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ (1) เพือศึกษาโครงสร้างของธุรกิจรีสอร์ท ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านการเงิน ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านระบบการจัดการและด้านการตลาด (2) เพือศึกษาถึงพฤติกรรม ของผู้มาพักเรือนนางรองรีสอร์ท (3) เพือศึกษาแนวทางในการพัฒนารูปแบบธุรกิจเรือนนางรองรี สอร์ท เครืองมือวิจัย มี2 ส่วน คือ ส่วนที1 การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสำหรับเจ้าของกิจการ เรือนนางรองรีสอร์ท ส่วนที 2 เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสำหรับ ผู้มาใช้บริการด้านความ พึงพอใจในการให้บริการ และนำข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า เรือนนางรองรีสอร์ทมีโครงสร้างการบริหารแบบครอบครัว เน้นบุคลากร ภายในพืนทีโดยเฉพาะเพศหญิง จัดทำบัญชีในการควบคุมการเงินพร้อมทังมีการประเมินรายรับ- รายจ่ายในการคืนทุนโดยมีการปรึกษาทางธนาคารในการวิเคราะห์ทางการเงิน ด้านวัสดุอุปกรณ์การ วางแผนผังมีการออกแบบและศึกษาจากรีสอร์ทต่างๆ แล้วมาปรับให้เหมาะกับพืนที คำนึงถึงวัสดุ อุปกรณ์ภายในพืนทีนำมาประยุกต์เพือลดต้นทุน ระบบการจัดการมีการแบ่งงานกันทำ ให้อิสระใน การทำงานของพนักงาน โดยอำนาจการบังคับบัญชาเป็นของภรรยาเจ้าของกิจการ มีการสร้างขวัญ กำลังใจ อาทิ สวัสดิการ ขันเงินเดือนเพือสร้างความมีเสถียรภาพในการทำงานเพือความเชือมัน ความมันคงในการทำงาน พฤติกรรมของผู้มาพักเรือนนางรองรีสอร์ทมีระดับความพึงพอใจโดย หมวดที สถานทีตัง สภาพแวดล้อม ความพึงพอใจดีมาก หมวดที ห้องพักความพึงพอใจปานกลาง หมวดที การ ให้บริการ ความพึงพอใจปานกลาง หมวดที ระบบความปลอดภัย ความพึงพอใจปานกลาง หมวดที ทรัพยากรและชุมชนแวดล้อม ความพึงพอใจดีมาก หมวดที คุณลักษณะอืนๆ ความพึง พอใจดีมาก แนวทางการพัฒนาธุรกิจรีสอร์ทเรือนนางรอง พัฒนากรอบการวางแผนให้ชัดเจนโดยมีการ ช่วงระยะสัน ระยะปานกลาง ระยะยาวอย่างมีระบบรวมถึงการกำหนดบทบาทคนงานให้ชัดเจนเพือเป็นหลักการในการประเมินผลการทำงาน การให้โบนัส หรือการเลือนตำแหน่งสายงาน สร้างผู้รับ ช่วงกิจการในการสืบทอดกิจการในการเรียนรู้งานเพือการพัฒนาธุรกิจอาจจัดตังเป็นคณะกรรมการ บริหารเพือให้รู้สึกว่าเป็นส่วนหนึงในการบริหาร สำรวจความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการต่อการ ให้บริการ อย่างน้อยปีละ ครัง จัดเวทีการสัมมนา หรือการแลกเปลียนเรียนรู้เกียวกับการส่งเสริม การท่องเทียวในมิติการบริการทีพักอาศัยของคนภายในและภายนอกพืนที รวมถึงการวิจัยและ ประสบการณ์เพือการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือง ให้เสนอแผนการจัดกิจกรรมการสร้าง เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการบริการกับหน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ สาขาวิชาการ ท่องเทียวและโรงแรม คณะวิทยาการจัดการโดยผลักดันให้มีรายวิชาเกียวกับการบริการและการ เป็นมัคคุเทศทีมีความเชียวชาญด้านท้องถินภายในเมืองบุรีรัมย์เฉพาะทาง รวมถึงสร้างเป็นโครงการ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการบริการรีสอร์ทขนาดเล็กเมืองนางรองให้เป็นต้นแบบ รวมถึง สร้างอัตลักษณ์เฉพาะของเรือนนางรองรีสอร์ททีมีความเด่นชัดในการนำเสนอผู้มาใช้บริการห้องพัก เพือสร้างเป็นจุดเด่นทางการค้า en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject พัฒนาธุรกิจรีสอร์ท en_US
dc.title แนวทางการพัฒนาธุรกิจรีสอร์ท กรณีศึกษาเรือนนางรองรีสอร์ท เมืองนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Resort Business Development Guide Line: A Case Study of Ruannangrong Resort Nangrong District, Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics