ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการพัฒนาเชิงบูรณาการร่วมกับชุมชนและการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งท่องเทียวในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author กุลกันยา, ศรีสุข
dc.contributor.author นิธิโรจน์, ศุภกฤษสุวรรณกุล
dc.date.accessioned 2017-12-01T09:17:45Z
dc.date.available 2017-12-01T09:17:45Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3341
dc.description.abstract งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสภาพความเสือมโทรมของแหล่งท่องเทียว ศึกษาบูรณา การแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนและเจ้าหน้าทีทีเกียวข้องเพือสังเคราะห์เป็นแผนพัฒนาแหล่งท่องเทียวที เสือมโทรม และศึกษาแนวทางในการจัดทำเป็นฐานข้อมูลทางอิเล็คทรอนิกส์เพือรวบรวม ข้อมูลที สำคัญต่าง ๆ ของแหล่งท่องเทียว กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการดำเนินการวิจัย ประกอบไปด้วย 1. แหล่ง ท่องเทียวจำนวน 10 แห่ง 2. กลุ่มประชากรทีใช้ในการสำรวจข้อมูลจำนวนทังหมด 800 คน โดย กระจายไปในแหล่งท่องเทียวทัง 10 แห่ง ซึงประกอบไปด้วยชาวบ้านแหล่งท่องเทียวละ 30 คน นักท่องเทียวแห่งละ 30 คน ผู้นำชุมชนแห่ง ละ10 คน และเจ้าหน้าทีรัฐแห่งละ 10 คน สถิติทีใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความเสือมโทรมของแหล่งท่องเทียวแบ่งเป็นด้าน ๆ ได้ ดังนีด้านคุณค่า ทางชีวภาพ ได้แก่บารายเมืองตำ พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน ครัวเชิงเกษตร บ้านโคกเมือง กุฏิฤาษีเมือง ตำ พนมรุ้ง เขาปลายบัด วัดปราสาทบูรพาราม และแหล่งผลิตผ้าไหมตามลำดับ ด้านคุณค่าทาง กายภาพ ได้แก่ กุฏิฤาษี บ้านโคกเมือง บารายเมืองตำ วัดปราสาทบูรพาราม พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน แหล่งผลิตผ้าไหม ครัวเชิงเกษตร เขาปลายบัด และพนมรุ้งตามลำดับ ด้านคุณค่าทางสังคม ได้แก่ หมู่บ้านโคกเมือง กุฏิฤาษี วัดปราสาทบูรพาราม เมืองตำ ครัวเชิงเกษตร พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน เขา ปลายบัด แหล่งผลิตผ้าไหม บาราย และพนมรุ้งตามลำดับ ด้านความสะอาด ได้แก่บารายเมืองตำ กุฏิ ฤาษี วัดปราสาทบูรพาราม ปราสาทเมืองตำ เขาปลายบัด พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน แหล่งผลิตผ้าไหม ครัวเชิงเกษตร บ้านโคกเมือง และพนมรุ้งตามลำดับ ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่บาราย กุฏิฤาษีเขา ปลายบัด เมืองตำ วัดปราสาทบูรพาราม พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน แหล่งผลิตผ้าไหม ครัวเชิงเกษตร บ้านโคกเมือง และพนมรุ้งตามลำดับ ด้านการจัดการการท่องเทียว ได้แก่บารายเมืองตำ พนมรุ้ง ปราสาทเมืองตำ กุฏิฤาษี เขาปลายบัด พิพิธภัณฑ์โบราณสถาน แหล่งผลิตผ้าไหม ครัวเชิงเกษตร บ้าน โคกเมือง และวัดปราสาทบูรพารามตามลำดับ และควรมีแผนในการพัฒนาแหล่งท่องเทียวทีเสือม โทรม ได้แก่แผนจัดการด้านแหล่งท่องเทียวทางชีวภาพ ด้านคุณค่าทางสังคม ด้านความสะอาด ด้าน การบริหารจัดการ ด้านการจัดการการท่องเทียว และแผนงานด้านสิงอำนวยความสะดวก ส่วน แนวทางในการจัดทำฐานข้อมูล ควรมีดังนี1) เน้นด้านการบริหาร 2) เน้นระดับปฏิบัติการ 3) เน้น ด้านบริหารวิชาการ 4) เน้นการวางแผน และ 5) เน้นการบริหารจัดการ en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาเชิงบูรณาการ, แหล่งท่องเทียว en_US
dc.title แนวทางการพัฒนาเชิงบูรณาการร่วมกับชุมชนและการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งท่องเทียวในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative The integrated development tendency of decadent tourism attraction with the community and the making of data-based tourism attraction in Chalermprakiet district,Buriram Province en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics