ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีต่อหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author เกษมะณี, การินทร์
dc.contributor.author รัชนีกร, บวรชาติ
dc.contributor.author ณัฐวุฒิ, ชูขวัญ
dc.date.accessioned 2017-12-01T09:12:54Z
dc.date.available 2017-12-01T09:12:54Z
dc.date.issued 2558-05
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3335
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มี ต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยสามารถนามาพัฒนากิจกรรมการเรียนสอนของ คณาจารย์ ตลอดทั้งเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน และการธนาคารในอนาคต ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการเงินและ การธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (TQF) จานวน 130 คน โดยคานวณ ตามสัดส่วนของจานวนนักศึกษาแต่ละชั้นปี โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) จากกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมได้จากการคานวณตามวิธีของ Taro Yamane ที่ระดับความ มีนัยสาคัญ .05 และขนาดความคลาดเคลื่อนเป็นร้อยละ ±.05 ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 สถิติ คือ 1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติเพื่อการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลกำรวิจัย พบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เพศหญิง ผู้ปกครองมีระดับการศึกษาต่ากว่ามัธยมศึกษา ตอนปลาย มีอาชีพเกษตรกรรม ระดับรายได้ต่ากว่า 10,000 บาท รองลงมา คือ รายได้ 10,001- 15,000 บาท และรายได้ 15,001 – 20,000 บาท ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจต่อหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร ในด้านรายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน การจัดการเรียนการสอน ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมโครงการของ สาขาวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน และการสนับสนุนการเรียนการสอน โดยรวมอยู่ ในระดับมาก การทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอย พบว่า ปัจจัยแต่ละด้านมีผลต่อ (3) ความพึงพอใจของนักศึกษา โดยมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสถาบันการศึกษา ควรมีการ พัฒนาและปรับปรุงห้องเรียนและอุปกรณ์การเรียนให้พร้อมและมีความทันสมัย เหมาะกับสภาวการณ์ ในยุคปัจจุบัน คณาจารย์ในหลักสูตรควรให้ความสาคัญแก่นักศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ตลอดทั้งการ สรรหาคณาจารย์ในหลักสูตรให้ครบตามจานวนที่กาหนดไว้ en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.relation.ispartofseries การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีต่อ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์;85/2558
dc.subject ความพึงพอใจ, บริหารธุรกิจบัณฑิต, การเงินและการธนาคาร en_US
dc.title การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีต่อหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Study the Satisfactory Levels of the Graduates with Undergraduate Program Finance and Banking, Faculty of Management Sciences, Buriram Rajabhat University en_US
dc.type Research en_US
dc.contributor.emailauthor Email: insignmind@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics