ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ภูมิปัญญาการกาหนดพื้นที่ภายในสิมอีสาน

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ ประจญศานต์
dc.date.accessioned 2017-12-01T09:00:59Z
dc.date.available 2017-12-01T09:00:59Z
dc.date.issued 2016-08-01
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3319
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติของอาคาร และคุณค่าของสิม (อุโบสถ) ที่มีต่อชุมชนโดยสารวจรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและวิเคราะห์พื้นที่ในการออกแบบพื้นที่ใช้สอยภายในตามลักษณะการประกอบสังฆกรรม จาก 3 กรณีศึกษา คือ สิมวัดโคกพระ อาเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา สิมวัดสระแก อาเภอพุทไธสง และสิมวัดหลักศิลา อาเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ ที่สรรค์สร้างโดยภูมิปัญญาช่างพื้นถิ่นซึ่งมีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ บริบททางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เมื่อวิเคราะห์กับข้อมูลสัดส่วนของภิกษุสงฆ์ที่ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 95 พบว่า พื้นที่นั่งของพระสงฆ์รวมพื้นที่กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ มีขนาดกว้าง 800 มิลลิเมตร ความยาว 1,067.5 มิลลิเมตร ระยะหัตถบาส 500 มิลลิเมตร จึงได้พื้นที่นั่งของพระสงฆ์ 1 รูป เท่ากับ กว้าง 1,300 มิลลิเมตร ความยาว 1,067.5 มิลลิเมตร คิดเป็น 1.40 ตารางเมตร ต่อรูป เมื่อพิจารณาจากพุทธบัญญัติเกี่ยวกับสีมาที่พระสงฆ์จะพึงกระทาสังฆกรรมนั้นจะต้องกาหนดเขตสีมาห้ามไม่ให้สมมุติสีมาเล็กเกินไป จนไม่สามารถบรรจุภิกษุ 21 รูป นั่งหัตถบาสได้ แสดงถึงพื้นที่สังฆกรรมภายในสิม ต้องมีพื้นที่รวมระยะสัญจรไม่น้อยกว่า 42 ตารางเมตร จึงพบว่าสิมในกรณีศึกษาทั้งสามหลัง มีพื้นที่ภายในเพียงพอต่อการประกอบสังฆกรรมโดยอนุโลม en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ภูมิปัญญาการกาหนดพื้นที่ภายในสิมอีสาน en_US
dc.title.alternative The Local Wisdom in Area Requirement of the I-san Local Buddhist Temple สมบัติ ประจญศานต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ พ. en_US
dc.type Research en_US
dc.contributor.emailauthor sombatprajonsant@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics