ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การแยกและคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถผลิตเอนไซม์กลุ่มเซลลูโลติก

Show simple item record

dc.contributor.author วรนุช, ภักดีเดชาเกียรติ
dc.contributor.author ประภาพันธ์, ศิริขันธ์แสง
dc.date.accessioned 2017-12-01T08:06:59Z
dc.date.available 2017-12-01T08:06:59Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3293
dc.description.abstract เซลลูเลสเป็นเอนไซม์ที่ได้รับความนิยมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและการย่อยสลายวัสดุ เหลือทิ้งทางการเกษตร การวิจัยในครั้งนี้สามารถแยกจุลินทรีย์ที่มีกิจกรรมเซลลูเลสได้จากมูลสัตว์ในเขต อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้อาหาร CMC agar ได้จำนวน 31 ไอโซเลท ผลการย้อมสีคองโก เรด พบว่าจุลินทรีย์จำนวน 23 ไอโซเลทที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโซนใสในช่วง 0.5-1 เซนติเมตร สำหรับ 8 ไอโซเลท ซึ่งได้แก่AF1 ED1 EF1 EC1 GC1 GC3 ID2 และ IC3 มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของโซนใส เท่ากับ 1.2 1.54 1.21 1.29 1.33 1.33 1.28 และ 1.23 เซนติเมตร ตามลำดับ ผลการเพาะเลี้ยงในอาหาร CMC broth ที่ไม่มีสารสกัดจากยีสต์แสดงให้เห็นว่าจุลินทรีย์ทั้ง 8 ไอโซเลท ดังกล่าวไม่มีกิจกรรมของ เอนไซม์คาร์บอกซีเมทธิลเซลลูเลส นอกจากนี้ยังพบว่าที่อุณหภูมิ45 องศาเซลเซียส พีเอช 7.0 โดยบ่ม ร่วมกับสารตั้งต้น CMC เป็นสภาวะที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ที่ผลิตได้จากไอโซเลท GC1 en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject CMC agar,จุลินทรีย์,ซีเมทธิลเซลลูเลส en_US
dc.subject การแยกจุลินทรีย์การผลิตเอนไซม์เซลลูโลไลติก en_US
dc.title การแยกและคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถผลิตเอนไซม์กลุ่มเซลลูโลติก en_US
dc.title.alternative ISOLATION AND SCREENING FOR MICROBIAL CELLULOLYTIC ENZYME en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics