ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การเปรียบเทียบวิธีการสุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบการนำเข้าข้อมูล

Show simple item record

dc.contributor.author จุฬาทิพย์, บุญมา
dc.date.accessioned 2017-10-16T03:38:41Z
dc.date.available 2017-10-16T03:38:41Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 และการสัมมนาวิชาการเพื่อเผยแพร่งานวิจัยสู่ชุมชน ครั้งที่ 5 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2990
dc.description บทคัดย่อ การนำเข้าข้อมูลเป็นขั้นตอนหนึ่งที่มีผลต่อคุณภาพของข้อมูล ซึ่งแต่ละวิธีจะมี ลักษณะเฉพาะของการทำงานความซับซ้อนของกระบวนการทำงานและข้อจำกัดในการใช้งาน ซึ่ง งานวิจัยนี้ศึกษาการสุ่มตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบการนำเข้าข้อมูลด้วยวิธี Continuous Sampling Plan 1 (CSP-1), CSP-2, Systematic Continuous Sampling Plan 1 (SCSP-1), และ SCSP-2 โดย สร้างประชากรจำนวน 8 ชุด (สัดส่วนความผิดพลาดของการนำเข้าข้อมูล (p) = 0.0034, 0.0080, 0.0130, 0.0188, 0.0254, 0.0528, 0.0670, และ 0.0822) ที่มีรูปแบบของความไม่ถูกต้องเป็นแบบสุ่ม (Random error) ด้วยโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ผลการศึกษา พบว่า เมื่อ p มีแนวโน้นเพิ่มขึ้น ค่าเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยคุณภาพที่เพิ่มขึ้น (Percent Gain in Average Quality ; PGAQ) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามค่า p และที่ p=0.0034 และ i=5 มี ค่า PGAQ และค่าเฉลี่ยของสัดส่วน record ที่ถูกตรวจสอบ (Average Fraction Inspection ; AFI) สูง กว่า i=10, 15, 20 และที่ p=0.0822 และ i=20 มีค่า PGAQ และค่า AFI สูงกว่า i=5, 10, 15 วิธีการสุ่ม CSP-2 พบว่า ทุกค่า p จะมีค่า PGAQ และค่า AFI ที่มีแนวโน้มคงที่ และที่ i=5 ให้ค่า PGAQ และค่า AFI สูงกว่า i=10, 15, และ 20 วิธีการสุ่ม SCSP-1 พบว่า ทุกค่า p จะมีค่า PGAQ และค่า AFI มี แนวโน้มคงที่ โดยที่ i=5 ให้ค่า PGAQ และค่า AFI สูงกว่า i=10, 15, และ 20 และวิธีการสุ่ม SCSP-2 พบว่า ทุกค่า p จะมีค่า PGAQ และค่า AFI มีแนวโน้มคงที่ โดยที่ i=5 ให้ค่า PGAQ และค่า AFI สูง กว่า i=10, 15, และ 20 โดยวิธีการที่ดีที่สุดค่า วิธี SCSP-1 และเป็นวิธีการที่ใช้งานง่ายและให้ ประสิทธิภาพของข้อมูลหลังการสุ่มตรวจสอบที่ดีที่สุด ซึ่งจากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่าค่า PGAQ และค่า AFI มีความสอดคล้องกันในลักษณะที่เมื่อจำนวนชุดที่ตรวจสอบมากโอกาสที่พบข้อมูลที่ ไม่ถูกต้องมากขึ้น ทำให้ค่า PGAQ มีค่าสูงขึ้นจึงทำให้ประสิทธิภาพของวิธีการดีขึ้นตามไปด้วย en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การสุ่มตรวจสอบการนำเข้าข้อมูล en_US
dc.subject การสุ่มตรวจแบบต่อเนื่อง en_US
dc.subject Sampling methods in verification of data en_US
dc.subject Continuous sampling plan en_US
dc.title การเปรียบเทียบวิธีการสุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบการนำเข้าข้อมูล en_US
dc.title.alternative COMPARISON OF SAMPLING METHODS IN VERIFICATION OF DATA ENTRY en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics