ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.author วันเทา, มลาศรี
dc.date.accessioned 2017-10-09T08:34:46Z
dc.date.available 2017-10-09T08:34:46Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2948
dc.description การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 โรงเรียนบ้านโคกลอย อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 1 ห้องจำนวน นักเรียน 18 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ แผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง สารในชีวิตประจำ วัน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 12 แผน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระ วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน จำนวน 40 ข้อ เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบสมมติฐานของร้อยละคะแนนก่อนเรียนหลังเรียนและประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม โดยใช้ค่าที (t-test) ผลการวิจัยมีความคาดหวังดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนใช้มากกว่า ร้อยละ 20 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 มากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในระดับมาก อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ชุดกิจกรรม en_US
dc.subject การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD en_US
dc.title การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics