ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.author วิษณุ, อุพลรัมย์
dc.date.accessioned 2017-09-27T08:03:52Z
dc.date.available 2017-09-27T08:03:52Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2482
dc.description.abstract บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนบ้านแสลงโทน อาเภอประโคนชัย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ปีการศึกษา 2554 จานวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 4 ชนิด ประกอบด้วย ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 8 ชุด แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 8 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.31ถึง 0.75 ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.25 ถึง 0.75 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8349 และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรม การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 12 ข้อ ซึ่งมีค่าความเหมาะสมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ E1/E2 และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.61/85.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาชุดกิจกรรม en_US
dc.subject การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD en_US
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน en_US
dc.subject ความพึงพอใจ en_US
dc.title การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics