ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.author มณิตา, สุขสวัสดิ์
dc.date.accessioned 2017-09-27T07:36:40Z
dc.date.available 2017-09-27T07:36:40Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2460
dc.description.abstract ย์ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกด คาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 3) ศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดย ใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดบ้านสนวน อาเภอห้วย ราช สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ปีการศึกษา 2554 จานวน 35 คน ได้มาโดยการเลือก แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 4 ชนิด ประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะ เรื่องการเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา จานวน 10 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา จานวน 10 แผน 3) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อและ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดย ใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ Dependent Samples t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้ การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.06/86.76 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรง มาตรา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ที่สุด en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาแบบฝึกทักษะ en_US
dc.subject การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD, ความพึงพอใจ en_US
dc.title การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics