ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3

Show simple item record

dc.contributor.author เมธปิยา, ชูศรีทอง
dc.date.accessioned 2017-09-25T07:11:54Z
dc.date.available 2017-09-25T07:11:54Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.citation การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พ.ศ. 2558 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2310
dc.description บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษาและขนาดของโรงเรียน กลุ่ มตัวอย่ างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 331 คน ซึ่งได้จากการสุ ่มจากประชากร โดยกำหนดขนาดของกลุ่ ม ตัวอย่างตามตารางของเครจซี่มอร์แกนโดยใช้วิธีสุ ่มแบบแบ ่งชั้นอย่ างมีสัดส ่วนตามขนาดของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส ่วนประมาณ ค่ า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด มีค ่าความเชื่อมั่น 0.934 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค ่าเฉลี่ย ส ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบค ่าที และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต ่างอย ่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแต่ ละด้าน จะทำการเปรียบเทียบเป็นรายคู ่ ตามวิธีการของเชฟเฟ่โดยกำหนดค ่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่ า 1. ครูมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู ่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว ่า อยู่ ในระดับมากที่สุด 2 ด้าน และอยู ่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยด้านที่มีค่ าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส ่วนด้านที่มีค ่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาส ่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ทางวิชาการ 2. ครูที่มีระดับการศึกษาต ่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมไม ่แตกต ่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการ พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแตกต่ างกันอย ่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส ่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่ าง กัน 3. ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต ่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมแตกต ่างกันอย ่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว า ทุกด้านแตกต ่างกันอย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เช่ นเดียวกัน 4. ครูได้แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ที่มีจำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) ครูมี ภาระงานมากและมีหน้าที่รับผิดชอบหลายด้าน รวมทั้งมีภารกิจด้านอื่นที่ไม่ เกี่ยวกับการเรียนการสอนมากเกินไป 2) ครูไม่ มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน และ 3) ขาดการวางแผนในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนตามลำดับ en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน en_US
dc.subject การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา en_US
dc.subject การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ en_US
dc.subject Academic Administration in Schools en_US
dc.subject The curriculum development en_US
dc.subject The development of the learning process en_US
dc.title การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 en_US
dc.title.alternative Academic Administration in Schools under Roi-et Primary Educational Service Area Office 3 en_US
dc.type Proceedings en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics