ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการคลังสินคา กรณีศึกษา บริษัท นิคสแลนด เทรดดิ้ง จํากัด

Show simple item record

dc.contributor.author ธัชชัย, ชอพฤกษา
dc.date.accessioned 2017-09-16T03:11:42Z
dc.date.available 2017-09-16T03:11:42Z
dc.date.issued 2016-11-24
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1512
dc.description.abstract ในการวิจัยเรื่อง “การศึกษาแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการคลังสินคา กรณีศึกษา บริษัทนิคสแลนด เทรดดิ้ง จํากัด อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร” ผูวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปญหาและวิเคราะหสภาพปญหาการดําเนินกิจกรรมภายในคลังสินคาและหาแนวทางการพัฒนา ประสิทธิภาพการจัดการคลังสินคาของกรณีศึกษา ผลการศึกษาพบวาการจัดเก็บสินคาภายในคลังสินคา ของกรณีศึกษานั้นมีการจัดเก็บที่ไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ไมมีการแบงโซน ไมมีการแบงหมวดหมูสินคา การจัดเก็บไรรูปแบบ มีการจัดเก็บสินคาแบบเทกอง สินคาที่มากอนจะถูกดันเขาไปเก็บไวดานในสุดของ คลังสินคา และถูกแทนที่ดวยสินคาที่มาใหม ทําใหพื้นที่ภายในคลังนั้น ไมเพียงพอในการจัดเก็บ สินคา บางรายการที่สั่งมาใหม ไมสามารถขนเขามายังภายในคลังสินคาได เนื่องจาก สินคาวางขวางทาง อยางไม เปนระเบียบ ผูศึกษาไดนําขอมูลมาวิเคราะห หาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในงานคลังสินคาโดย การนําแนวคิดทฤษฎี ABC Analysis ซึ่งเปนทฤษฎีที่การแบงประเภทสินคาตามลําดับความสําคัญ โดยใช มูลคาของสินคาที่ขายดีที่หมุนเวียนในรอบครึ่งป โดยจะแบงสินคาออกเปน 3 ประเภท คือ ประเภท A เปนของสินคาที่มีมูลคาหมุนเวียนในรอบครึ่งปสูงที่สุด ประเภท B มีมูลคาปานกลาง สวนประเภท C มี มูลคาต่ําสุด เพื่อใหมีแนวทางในการจัดกลุมของสินคาแตละประเภท นําขอมูลที่ไดมาจากการวิเคราะหมา ทําการจัดหมวดหมูสินคาและทําการวัดผลการวิจัยโดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดําเนินงานใน คลังสินคาแบบเดิมและแบบเอบีซีวาแบบไหนสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในงานคลังสินคามากกวากัน การ แยกประเภทสินคาออกเปนหมวดหมูตามแบบเอบีซีทําใหสามารถจัดหมวดหมูสินคาในคลังสินคาไดเปน ระเบียบ สามารถแยกโซนการจัดเก็บสินคาไดอยางเหมาะสมสามารถออกแบบแผนผังการจัดเก็บสินคา ภายในคลังสินคาไดอยางเปนระบบ มีพื้นที่ภายในคลังสินคามากยิ่งขึ้น การเคลื่อนยายสินคามีความโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4” (กลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี) หนา 949 สะดวก ใชเวลาการดําเนินงานนอยลงประหยัดเวลามากกวาเดิมซึ่งแตกตางจากการจัดเก็บสินคาแบบเดิม ที่ไมมีการจัดหมวดหมูในการจัดเก็บสินคา สินคาวางไมเปนระเบียบ มีพื้นที่ในการจัดเก็บสินคานอย และ ใชเวลาในการคนหาสินคานาน ดังนั้นจะเห็นไดวา การนําเอาระบบเอบีซีมาใชในการจัดเก็บสินคาภายใน คลังสินคาของกรณีศึกษาทําใหการบริหารจัดการคลังสินคามีประสิทธิภาพมากขึ้น และถาหากนําผล การศึกษาที่ไดไปประยุกตใชกับคลังสินคาของกรณีศึกษาจะทําใหมีประสิทธิภาพในกระบวนการจัดวาง สินคามากยิ่งขึ้น เพื่อนําไปสูตนทุนรวมที่ต่ําและผลกําไรที่สูงขึ้น en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประสิทธิภาพ en_US
dc.subject คลังสินคา en_US
dc.subject การจัดเก็บ en_US
dc.subject ABC Analysis en_US
dc.title แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการคลังสินคา กรณีศึกษา บริษัท นิคสแลนด เทรดดิ้ง จํากัด en_US
dc.title.alternative The Development of effective warehouse management. A case study of Nicksland Trading Co., Ltd . en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics