ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาความหลากชนิดของไบรโอซัวน้ําจืดในแหลงน้ําบริเวณตําบลโคกโคเฒา อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author มณฑล, สุวรรณประภา
dc.date.accessioned 2017-09-15T08:29:29Z
dc.date.available 2017-09-15T08:29:29Z
dc.date.issued 2016-11-24
dc.identifier.citation การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4" en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1477
dc.description.abstract ไบรโอซัวน้ําจืดเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอาศัยอยูในแหลงน้ํานิ่งและแหลงน้ําไหล มีความสามารถในการปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่หลากหลาย และดวยความหลากหลายของชนิด ที่มีการสํารวจพบในประเทศไทย จึงมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับไบรโอซัวเพื่อนํามาใชเปนดัชนีชี้วัด คุณภาพน้ํา โดยงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความหลากชนิดของไบรโอซัวน้ําจืดในแหลงน้ําไหล (คลองธรรมชาติ คลองชลประทาน) และแหลงน้ํานิ่ง (บอน้ําในไรนา บอขุดเกา) บริเวณตําบล โคกโคเฒา และวิเคราะหความสัมพันธระหวางคุณภาพน้ําและชนิดของไบรโอซัวน้ําจืด ผลการศึกษาพบไบร โอซัวน้ําจืด 3 สายพันธุ คือ Hislopia malayensis, Plumatella bombayensis และ P. casmiana โดยวัสดุที่ไบรโอซัวเขายึดเกาะอาศัยประกอบดวยผักตบชวา ขอนไมไผ ผักบุง เปลือกหอย กอนหิน โฟม และขวดน้ําพลาสติก สําหรับการเก็บตัวอยางไบรโอซัวดวยทุนลอยน้ําที่ทําดวยแผนกระเบื้องดินเผา พบวา ไบรโอซัวเริ่มเขายึดเกาะอาศัยในชวง 2 - 3 สัปดาห และสวนใหญยึดเกาะเฉพาะบริเวณแผนกระเบื้องที่มี ผิวขรุขระ เมื่อทําการวิเคราะหคุณภาพน้ําทั้ง 10 พารามิเตอร พบวา คาความเปนกรด-ดาง (pH) มีคา อยูในชวง 7.38 – 9.31 คาการนําไฟฟา (EC) มีคาอยูในชวง 214.35 – 750.90 ไมโคร -ซีเมนต/ซีเอ็ม คาของแข็งแขวนลอย (SS) มีคาอยูในชวง 4.00 – 62.33 มิลลิกรัมตอลิตร คาของแข็งทั้งหมด (TS) มี คาอยูในชวง 201 – 1,690 มิลลิกรัมตอลิตร คาความขุน (Tur) มีคาอยูในชวง 0.00 – 69.73 เอ็นทียู ออกซิเจนละลายน้ํา (DO) มีคาอยูในชวง 6.11 – 9.89 มิลลิกรัมตอลิตร ความสกปรกในรูป สารอินทรีย (BOD) มีคาอยูในชวง 0.70 – 7.25 มิลลิกรัมตอลิตร ฟอสเฟต (PO43-) มีคานอยกวา 0.01 มิลลิกรัมตอลิตร ไนเตรต (NO3-) มีคาอยูในชวงนอยกวา 0.01 – 1.57 มิลลิกรัมตอลิตร และ แอมโมเนีย (NH3) มีคาอยูในชวงนอยกวา 0.01 – 401.30 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อนําคาพารามิเตอร ของคุณภาพน้ํามาหาความสัมพันธกับชนิดของไบรโอซัว พบวา H. malayensis ไมมีความสัมพันธกับ ทุกพารามิเตอร P. bombayensis มีความสัมพันธกับคาความเปนกรด – ดางอยางมีนัยสําคัญที่ระดับโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4” (กลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี) หนา 922 ความเชื่อมั่น 0.05 โดยมีความสัมพันธในทิศทางตรงขาม P. casmiana มีความสัมพันธกับคาของแข็ง ทั้งหมดอยางมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 โดยมีความสัมพันธในทิศทางตรงขาม en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความหลากชนิด en_US
dc.subject ไบรโอซัวน้ําจืด en_US
dc.subject แหลงน้ํา en_US
dc.subject สุพรรณบุรี en_US
dc.title การศึกษาความหลากชนิดของไบรโอซัวน้ําจืดในแหลงน้ําบริเวณตําบลโคกโคเฒา อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี en_US
dc.title.alternative A Study of Freshwater Bryozoans Diversity in Inland Water at Mueang Suphan Buri District, Khok Ko Thao Subdistrict, Suphan Buri Province en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor mon_en45@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics