ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการวัดและประเมินผลของครูตามแนวทางของ สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาซน) ในโรงเรียนมัธยมศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.author สรปรัชญ์, ไวกสิกรณ์
dc.date.accessioned 2017-09-13T01:54:55Z
dc.date.available 2017-09-13T01:54:55Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.citation การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พ.ศ. 2558 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1234
dc.description.abstract ครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้เจริญงอกงามทุกด้าน ทั้งด้านสติป้ญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม และยังเป็นผู้เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้คับผู้เรียน (มะห้ดี มะดือราแว. 2551: 2) การเป็นครู มืออาชีพต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ (ไพบูลย์ แจ่มพงษ์. 2543: 27) ประพฤติ ตน ดูแลเอาใจใส่ศิษย์ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู (พนม พงษไพบูลย์. 2544: 7) และทำทุกวิถีทางที่ให้ศิษย์ เป็นคนดื (เปรม ติณสูลานนท์. 2544: 50) ดังนั้น คุณภาพของครูจึงเป็นป้จจัยสำคัญต่อคุณภาพการจัด การศึกษา การที่ครูจะสอนได้อย่างมีคุณภาพนั้นมีองค์ประกอบสนับสนุนหลายด้านโดยจะต้องพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของครูและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวคับตัวครู จึงจะทำให้พิจารณาประสิทธิภาพการสอน ของครูได้อย่างครอบคลุม นั้นดือครูมืออาชีพต้องมีสมรรถนะอันส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน สำนักงาน คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงดำเนินการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนทุกคนทั้ง ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการกำหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะครูตามนโยบาย พัฒนาครูทั้งระบบ (สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553: 1) จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) สองปีที่ผ่านมา นักเรียน ได้คะแนนตํ่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม สะท้อนให้เห็นว่า คุณภาพของนักเรียนอยู่ในระดับที่ไม1น่าพอใจ (ธัญญา เรืองแก้ว. 2549) ทั้งนี้เกิดจากครูไม่เช้าใจกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานและ ตัวชี้'วัด,ของ,หลักสูตร'ที่ สทศ.นำมาใช้ในการทดสอบ 0-NET จึงทำให้ครูไม1ได้จัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด และไม่ได้นำกระบวนการกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลักสูตรมาใช้ในขั้นเรียน จึงอาจเชื่อมโยงได้ว่า ครูเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้นักเรียนมีคุณภาพตํ่า (กลิ่น สระทองเนียม. 2552: 1) และมีอาจปฏิเสธความรับผิดชอบเหล่านี้ได้ (สูรคักดี้ ปาเฮ. 2556: 1 - 2) ดังนั้น การที่จะพัฒนาให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนและตัวชี้วัดตามหลักสูตร จึงจะต้องทำให้ครูมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดตามหลักสูตรเสียก่อน ผู้วิจัยในฐานะผู้บริหารสถานศึกษาจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาเสริมสร้าง สมรรถนะ วัดและประเมินผลของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มีความรู้ความสามารถพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดได้อย่างถูกต้องครอบคลุม และ สามารถพัฒนาวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้และสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่าง มิคุณภาพ ตลอดจนสามารถตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน ได้ถูกต้องแม่นยำ en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject Competency en_US
dc.subject Evaluation en_US
dc.title รูปแบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการวัดและประเมินผลของครูตามแนวทางของ สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาซน) ในโรงเรียนมัธยมศึกษา en_US
dc.title.alternative The Administrative Model to Enhance Learning Assessment Competency of Teacher on National Institute of Educational Testing Service (Public Organization) in Secondary School en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics