ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาการกระจายเชิงพื้นที่ และการยอมรับการเพาะปลูกยางพาราของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ผดุงชาติ, ยังดี
dc.date.accessioned 2017-09-12T04:26:13Z
dc.date.available 2017-09-12T04:26:13Z
dc.date.issued 2013-05
dc.identifier.citation ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2 en_US
dc.identifier.issn 1686-0101
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1174
dc.description.abstract การวิจัยครั้งน้ีกำาหนดวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ยอมรบัการปลกูยางพาราของเกษตรกรในพนื้ท ่ีจงัหวดับรุรีมัย ์และศกึษาการประยกุต์ ใชร้ะบบภมูสิารสนเทศในการวเิคราะหห์าการกระจายเชงิพนื้ทที่เี่ปลยี่นเปน็พนื้ทปี่ลกู ยางพาราในจงัหวดับรุรีมัย ์โดยตงั้สมมตุฐิานไวส้องขอ้คอื ปจัจยัทางดา้นเศรษฐกจิ เปน็ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการปลูกยางพารามากกว่าปัจจัยอื่นๆ และ การแพร่ กระจายของพื้นที่ปลูกยางพาราของเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดบุรีรัมย์เป็นแบบเพื่อน บ้านใกล้เคียง (Neighborhood) มากกว่ารูปแบบอื่นๆ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรที่ปลูกยางพาราในจังหวัดบุรีรัมย์จำานวน 17,379 ราย คำานวณหากลุ่ม ตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำานวน 332 ตัวอย่าง แล้วทำาการสุ่มตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมสำาเร็จรูปทางสถิติเพื่อหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการศึกษาการกระจายเชิงพื้นที่ของการปลูกยางพารา ทำาด้วยการนำาเข้า ข้อมูลการใช้ที่ดิน และภาพถ่ายดาวเทียม แล้ววิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Arc Gis 9.3 ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการปลูกยางพาราโดยรวม พบว่า ปัจจัย ทางเศรษฐกจิ มอีทิธพิลในระดบัมาก คา่เฉลยี่เทา่กบั 3.68 สว่นปจัจยัอนื่ไดแ้ก ่ปจัจยั ทางสังคมวัฒนธรรม ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางการเมือง และ ปัจจัยทางด้านการสื่อสาร มีอิทธิพลในระดับปานกลาง ดังนั้น จึงยอมรับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ คือ ปัจจัยทาง ด้านเศรษฐกิจ มีอิทธิพลต่อการยอมรับการปลูก ยางพารามากกว่าปัจจัยอื่นๆ 2. ผลการวจิยัปจัจยัรายดา้น พบวา่ ปจัจยั ทางด้านกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับอยู่ใน ระดับมาก (X=3.97) คือ ความลาดชันของพื้นที่มี ความเหมาะสม ปจัจยัทางดา้นเศรษฐกจิทมี่อีทิธพิล ต่อการยอมรับอยู่ในระดับมากที่สุด (X= 4.55) คือ การมีความคาดหวังว่าจะได้รับค่าตอบแทนสูง ในอนาคต ปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรม ด้านที่ มีอิทธิพลต่อการยอมรับในระดับมาก (X= 4.14) คือ การปลูกยางตามเพื่อนบ้านและญาติๆ ปัจจัย ทางด้านการเมือง ที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับใน ระดับมาก (X= 3.67) คือ นโยบายการขยายพื้นที่ ปลูกยางพาราของรัฐบาล ปัจจัยด้านการสื่อสารที่มี อทิธพิลตอ่การยอมรบัในระดบัมาก (X= 4.11) คอื การบอกเล่าจากเพื่อนบ้านหรือญาติๆ และปัจจัย ส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลในระดับมาก (X= 4.33) คือ การมีที่ดินเป็นของตนเอง 3. ผลการศึกษาการแพร่กระจายเชิงพื้นที่ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โปรแกรม Arc Gis 9.3 พบว่า จาก ปี พ.ศ. 2543 และ ปี พ.ศ. 2554 อำาเภอที่มีการขยายพื้นที่ปลูกยางพารามาก ที่สุดได้แก่ อำาเภอบ้านกรวด อำาเภอแคนดง อำาเภอ สตกึ อำาเภอคเูมอืง และอำาเภอประโคนชยัตามลำาดบั และเมื่อทำาการซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อทดสอบ สมมตุฐิาน พบวา่ การแพรก่ระจายเชงิพนื้ทเี่ปน็แบบ เพื่อนบ้านใกล้เคียง (Neighborhood) มากกว่ารูป แบบอื่นๆ ซึ่งยอมรับสมมุติฐาน en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ้ระบบภูมิสารสนเทศ าการกระจายเชิงพื้นที่ ยางพารา en_US
dc.title การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาการกระจายเชิงพื้นที่ และการยอมรับการเพาะปลูกยางพาราของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Application of GIS to study the Spatial Distribution and Adoption of Para Rubber Cultivation of Farmers in Buriram Province en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal รมยสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 2556


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics