ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Show simple item record

dc.contributor.author ละออง, ภู่เงิน
dc.date.accessioned 2017-09-12T04:15:56Z
dc.date.available 2017-09-12T04:15:56Z
dc.date.issued 2013-05
dc.identifier.issn 1686-0101
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1173
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและแนวทาง พัฒนาการผลิตครูของคณะครุศาสตร์และนำามาพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายการ ผลิตครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้มี ความครอบคลุม ความเหมาะสม ความสอดคล้อง ความชัดเจน ความมีประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการนำาไปปฏิบัติ วิธีดำาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 การยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายซึ่งประกอบด้วยการวิจัยเอกสารการวิจัย เชิงสำารวจ และการยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายและระยะที่ 2 การพัฒนาร่างข้อเสนอ เชงินโยบาย โดยการวจิยัจากผทู้รงคณุวฒุ ิจำานวน 2 ชดุ และการประชมุสนทนากลมุ่ คณะกรรมการบรหิารคณะครศุาสตรห์นงึ่แหง่ เพอื่ใหไ้ดร้บัการยนืยนัวา่เปน็ขอ้เสนอ เชงินโยบายตามเกณฑก์ารเปน็นโยบายทดี่ผีลการวจิยัสรปุไดว้า่สภาพปจัจบุนัการผลติ ครโูดยภาพรวมมกีารดำาเนนิงานอยใู่นระดบัมาก โดยดา้นทมี่กีารปฏบิตัสิงูสดุคอืดา้น การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู รองลงมาคือด้านการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนบัสนนุสว่นดา้นทมี่กีารปฏบิตัติำา่สดุคอื ดา้นการสรา้งเครอืขา่ยความรว่มมอืใน การผลติคร ูปญัหาการผลติครทูสี่ำาคญัสงูสดุในแตล่ะดา้นไดแ้กจ่ำานวนการรบันกัศกึษา ในแต่ละปีมากเกินไปการขาดแคลนสถานที่และอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ในรายวชิาภาคปฏบิตันิกัศกึษามจีำานวนมากเกนิไปทำาใหไ้มส่ามารถนเิทศการสอนได้ อย่างทั่วถึง อาจารย์ผู้สอนมีชั่วโมงสอนและภาระงานด้านอื่นๆ มากเกินไป อาจารย์ไมใ่หค้วามสำาคญักบัการสรา้งเครอืขา่ยความรว่มมอื กบัโรงเรยีนและหนว่ยงานทเี่กยี่วขอ้งและขาดแคลน สถานที่สำาหรับการจัดกิจกรรมนักศึกษาสำาหรับ แนวทางพัฒนาการผลิตครูที่ควรพัฒนามากที่สุดใน แต่ละด้าน ประกอบด้วยการคัดเลือกนักศึกษาเข้า เรียนโดยเน้นคุณสมบัติเป็นคนเก่ง ดีและมีใจรักใน วชิาชพีคร ูควรจดัสรรงบประมาณเพอื่จดัหาอปุกรณ์ ในห้องปฏิบัติการให้เพียงพอกับจำานวนนักศึกษา พัฒนาระบบการนิเทศและให้ความสำาคัญกับการ นิเทศนักศึกษา ปรับปรุงระเบียบการลาศึกษาต่อ เพื่อให้สามารถลาศึกษาต่อได้ทั้งภาคปกติและภาค พิเศษโดยได้รับเงินเดือนและทุนการศึกษา ควร ประสานงานในเชิงรุกกับทุกฝ่ายเพื่อสร้างเครือข่าย ความรว่มมอืในการผลติครใูหเ้ขม้แขง็มากยงิ่ขนึ้ และ ควรจดัหาสถานทใี่นการจดักจิกรรมพฒันานกัศกึษา ดงันนั้จงึนำาขอ้คน้พบจากสภาพปจัจบุนัปญัหา และ แนวทางพัฒนาการผลิตครูดังกล่าวมาพัฒนาเป็น ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีโครงสร้างของข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครู แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือหลักการ วัตถุประสงค์และ ประเดน็นโยบายซงึ่ประกอบดว้ย 5 ดา้นคอื ดา้นการ วางแผนการผลิตครู ด้านหลักสูตรและการจัดการ เรียนการสอน ด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู ด้านการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน และด้านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการผลิตครู โดยมีมาตรการดำาเนินงานรวมทั้งสิ้น จำานวน 42 มาตรการ en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ข้อเสนอเชิงนโยบาย, การผลิตครูและการผลิตครูของคณะครุศาสตร์ en_US
dc.title ข้อเสนอเชิงนโยบายการผลิตครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ en_US
dc.title.alternative The Proposed Policy for Teacher Production in the Faculties of Education of Rajabhat Universities in the Northeast en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal รมยสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 2556


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics