ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author พาราษฎร์, สนิท
dc.contributor.author กุลฑานันท์, พัชนี
dc.contributor.author สอนสุภาพ, สายรุ้ง
dc.date.accessioned 2017-09-10T09:48:14Z
dc.date.available 2017-09-10T09:48:14Z
dc.date.issued 2559-12
dc.identifier.citation สนิท พาราษฎร์ พัชนี กุลฑานันท์ และ สายรุ้ง สอนสุภาพ. (2559). การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา, 11(2), หน้า 57-67. en_US
dc.identifier.issn 19061641
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1147
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อประเมินหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดย ใช้แนวคิดการประเมินหลักสูตรตามรูปแบบ CIPP Model ของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) มาประยุกต์ใช้ ซึ่งประเมินทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้าน ผลผลิต โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร จำนวน 10 คน อาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้สอน จำนวน 10 คน นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ จำนวน 40 คน นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 32 คน และเจ้าของ/ผู้บริหารสถาน ประกอบการ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบ ด้วย แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์มีลักษณะเป็นแบบมีโครงสร้าง และค่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ .971 สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1. ผลการประเมินหลักสูตร สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม โดยภาพรวม พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาที่กำลังศึกษา อยู่ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และเจ้าของ/ผู้บริหารสถาน ประกอบการ มีความคิดเห็นว่าหลักสูตรมีประสิทธิภาพและมี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2. ผลการประเมินด้านบริบทในภาพรวม พบว่า ด้าน บริบทมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รองลงมาคือ ด้านปรัชญา ของหลักสูตร ด้านรายวิชาของหลักสูตร ด้านองค์ประกอบของ หลักสูตร และด้านโครงสร้างของหลักสูตร ตามลำดับ 3. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้าในภาพรวม พบว่า ด้านปัจจัยนำเข้ามีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่า เฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านคุณลักษณะอาจารย์ผู้สอน รองลงมาคือ ด้าน สื่อและอุปกรณ์ ด้านคุณลักษณะของนักศึกษา ด้านเอกสารตำรา ด้านงบประมาณ และด้านอาคารสถานที่ ตามลำดับ 4. ผลการประเมินด้านกระบวนการ ในภาพรวมพบว่า มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้าน การบริหารจัดการหลักสูตร รองลงมาคือ ด้านฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมิน ผล ตามลำดับ 5. ผลการประเมินด้านผลผลิตในภาพรวมพบว่า คุณลักษณะของนักศึกษามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะทางปัญญา ด้าน ความรู้ ด้านทักษะพิสัย และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับ en_US
dc.description.abstract The purpose of this research was to evaluate Buriram Rajabhat University curriculum for Bachelor of Science Program in Industrial Design (Revised 2012) by using a CIPP model proposed by Daniel L. Stufflebeam. Four aspects were evaluated: context, input, process and product. The data was collected from 10 curriculum experts, 10 curriculum committee/ lecturers, 40 students, 32 interns and 30 entrepreneurs. The research tools were a five-rating scale questionnaire with the reliability of .971 and a structured interview. The statistics employed in this research were percentage, mean and standard deviation. The research results revealed that: 1. Having evaluated the aforementioned curriculum by the experts, curriculum committee/lecturers, students, interns and entrepreneurs, it showed that the curriculum efficiency and appropriateness was overall found at a high level. 2. Having evaluated its overall context, it showed that its appropriateness was found at a high level. Moreover, its objectives were ranked fires and were followed by its philosophy and subjects, components and structure respectively. 3. Having evaluated its overall input, it was discovered that the input appropriateness was found at a high level. Moreover, lecturers’ qualifications were ranked first and was followed by instructional materials and equipment, students’ qualifications, texts and budgets and buildings respectively. 4. Having evaluated its overall process, it revealed that appropriateness of the process was found at a high level. Moreover, curriculum management was ranked first and was followed by internships, instructional management and educational measurement and evaluation respectively. 5. Having evaluated its overall product, it revealed that students’ appropriate qualifications were found at a high level. Moreover, interpersonal relationships and responsibility were ranked first and were followed by morality and ethics, cognitive skills, knowledge, psychomotor domain, numerical analysis skills, and communications and use of information technology respectively. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การประเมินหลักสูตร, ซิป โมเดล, ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม en_US
dc.subject The Evaluation Curriculum, CIPP model, Industrial Design en_US
dc.title การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Evaluation of Buriram Rajabhat University Curriculum for Bachelor of Science Program in Industrial Design (Revised 2012) en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal วารสารวิจัยและพัฒนา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics