ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การยอมรับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลายเรขศิลป์ส่วนประดับของปราสาทขอม ในเขตอีสานใต้ ประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ประจญศานต์, สมบัติ
dc.date.accessioned 2017-09-10T06:21:58Z
dc.date.available 2017-09-10T06:21:58Z
dc.date.issued 2559-11-24
dc.identifier.citation สมบัติ ประจญศานต์. (2559). การยอมรับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลายเรขศิลป์ส่วนประดับของปราสาทขอม ในเขตอีสานใต้ ประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา, 11(พิเศษ), หน้า 46-53. en_US
dc.identifier.issn 19061641
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1141
dc.description.abstract บทความนี้เสนอผลการยอมรับผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค เมื่อแรกเห็นผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมมัดหมี่ลายเรขศิลป์จากลวดลาย จำหลักบนส่วนประดับสถาปัตยกรรมปราสาทขอมในเขตอีสานใต้ ทดลองผลิตเป็นต้นแบบ จำนวน 30 ผืน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดย ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็นในการสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง เป็นผู้ที่ สนใจเข้ามาชมผลิตภัณฑ์ที่คูหานิทรรศการ จำ�นวน 400 คน ผล การวิจัยระบุว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง วัยกลางคน อายุระหว่าง 40-60 ปี มีรายได้มากกว่า 25,001-35,000 บาท ต่อเดือน และมีอาชีพในกลุ่มข้าราชการ พนักงานของรัฐวิสาหกิจ หรือองค์การส่วนปกครองท้องถิ่น เดิมมีความชื่นชอบผ้าไหม มัดหมี่ และเกินครึ่งหนึ่งเคยใช้ผ้าไหมมัดหมี่ในชีวิตประจำวัน เมื่อแรกเห็นผลิตภัณฑ์ใหม่รู้สึกชื่นชอบระดับมาก โดยเห็นว่า ผลิตภัณฑ์ใหม่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในระดับมากที่สุด และเห็น ว่าราคาจำ�หน่ายที่สามารถตัดสินใจซื้อได้ คือช่วงราคา 1,000- 1,500 บาท ต่อเมตร ซึ่งราคาของผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตัดสินใจซื้อ ขึ้นอยู่กับเพศ รายได้ อาชีพ ความชื่นชอบและประสบการณ์เดิม ที่เคยใช้ผ้าไหมมัดหมี่ในชีวิตประจำวันมีความสัมพันธ์กันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หากจำแนกตามกลุ่มชื่นชอบผ้า ไหมมัดหมี่ และกลุ่มประสบการณ์เดิมที่เคยใช้ผ้าไหมมัดหมี่ใน ชีวิตประจำวันจะมีความชื่นชอบเมื่อแรกเห็นแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มที่มีประสบการณ์การใช้ ผ้าไหมมัดหมี่ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานจะชื่นชอบผลิตภัณฑ์ใหม่ มากกว่าคนที่ไม่เคยใช้ หรือเคยใช้ในระยะเวลาที่น้อยกว่า ทั้งชื่น ชอบเมื่อแรกเห็น และชื่นชอบสีสัน ลวดลาย เนื้อผ้า อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะในการวิจัย ผู้ออกแบบ จำเป็นต้องออกแบบผลิตภัณฑ์ทั้งเนื้อผ้า ลวดลายและสีสันให้ เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยการ เล่าเรื่องราวแห่งคุณค่า เน้นการตลาดแบบสร้างความรู้สึกและ เข้าใจคุณค่าสินค้าทางอารมณ์ en_US
dc.description.abstract This article focused on acceptance of the customers towards the Mudmee silk which was inspired by etched patterns of the architectural decorative motif patterns of ancient Khmer sanctuaries in Lower Northeast region of Thailand products when they first saw the products. The sample group was purposively selected by using non probability sampling technique from 400 exhibit booth visitors. The results from the research showed that the majority of the sample group was female aged 40-60 years old with incomes of over 25,001-35,000 THB/month. Their occupations included civil servants, government officers, state enterprise employees, or local administration organization’s employees. They originally liked Kudmee silk and more than a half of this sample group has used Mudmee silk on a daily basis. When they first saw the products, they satisfied with the products at the high level. They viewed that these new products were unique at the highest level. They also viewed that selling prices that they could make their buying decision should be 1,000- 1,500 THB/meter. Decision for buying the products in terms of the selling prices was made depending on their genders, incomes, occupations, interest, and their experiences with Mudmee that they used in their daily lives with statistically significance of 0.05. If classified the samples by their interest and experiences with Mudmee they used in their daily lives, the impression they had with the products was different with statistically significance of 0.05. The samples who had used Mudmee silk in their daily lives for a long time liked the new products more than the samples who had never have experiences with Mudmee silk in their daily lives or had used the Mudmee silk for a shorter period. They liked when they first saw the products and also liked colors, patterns, and textures with statistically significance of 0.05. The research suggestions were the designer/s need to design the products in terms of textures, patterns, colors to suit with the target customer groups, the value of the products should be added by communicating the stories regarding the products to the customers. Psychological Market should be emphasized by establishing feeling and understanding towards the value of the products. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ออกแบบผลิตภัณฑ์, ยอมรับผลิตภัณฑ์, ผ้ามัดหมี่, ผ้าไหม, ปราสาทขอม en_US
dc.subject Product Design, Acceptance of product, Mudmee, Silk Fabric Khmer Sanctuary en_US
dc.title การยอมรับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลายเรขศิลป์ส่วนประดับของปราสาทขอม ในเขตอีสานใต้ ประเทศไทย en_US
dc.title.alternative The Customer Acceptance of Mudmee Fabric Products which Used Motifs of Ancient Khmer Sanctuary in Lower Northeast Region of Thailand. en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal วารสารวิจัยและพัฒนา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics