ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการจัดการสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author ปิยชนม์, สังข์ศักดา และคณะ
dc.date.accessioned 2023-05-20T07:38:21Z
dc.date.available 2023-05-20T07:38:21Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8614
dc.description.abstract แนวทางการจัดการสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดบุรีรัมย มี วัตถุประสงคในการทําวิจัย 3 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาของชุมชน และประวัติ สถาปตยกรรมพื้นถิ่น 2) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น จัดทําแบบทาง สถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษและนําเสนอตอชุมชน 3) เพื่อเสนอแนวทางการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม ทางการทองเที่ยวและนําเสนอตอชุมชน โดยดําเนินการในพื้นที่ 3แหง ดังนี้1)อุโบสถพื้นถิ่น วัดมณีจันทร อําเภอพุทไธสง 2)อุโบสถพื้นถิ่น วัดบรมคงคา อําเภอพุทไธสง 3) อุโบสถพื้นถิ่น วัดทาเรียบ อําเภอ นาโพธิ์ รวมกับชุมชนในการศึกษาประวัติชุมชนโดยใชวิธีการสัมภาษณ การสํารวจ รังวัดสถาปตยกรรมพื้น ถิ่น เพื่อจัดทําแบบทางสถาปตยกรรมและนําเสนอตอชุมชน จากการสํารวจความเห็นชาวชุมชนจํานวน 84 คน พบวาผลการดําเนินการวิจัยในขั้นนี้ทําให1) ชุมชนเกิดความตระหนักในการอนุรักษสถาปตยกรรมพื้นถิ่น 2) ชุมชนใหความสําคัญกับสถาปตยกรรมพื้นถิ่น 3) ชุมชนเกิดแรงจูงใจในการอนุรักษสถาปตยกรรมพื้นถิ่น 4) ชุมชนมีแนวทางในการอนุรักษสถาปตยกรรมพื้นถิ่น 5) การวิจัยนี้ทําใหชุมชนมีสวนรวมในการอนุรักษ สถาปตยกรรมพื้นถิ่น ทั้ง 5 ประเด็นอยูในระดับมากที่สุด และจากการสํารวจความเห็นของผูรวมกิจกรรม ทัศนศึกษาสถาปตยกรรมพื้นถิ่น พบวาศักยภาพของสถาปตยกรรมพื้นถิ่นเพื่อจัดการเปนแหลงทองเที่ยว ทั้ง 3 แหงมีความดึงดูดใจ มีความสําคัญตอชุมชนและชุมชนมีสวนรวมในการอนุรักษและรักษาสถาปตยกรรม พื้นถิ่น อยางไรก็ตามจากการสํารวจความเห็นผูตอบแบบสอบถามพบวาศักยภาพในดานกายภาพ ดานการ รองรับนักทองเที่ยวมีประเด็นที่มีความเห็นดวยระดับนอยถึงระดับปานกลาง จึงดําเนินการออกแบบปรับปรุง ภูมิทัศนประกอบดวยสิ่งอํานวยความสะดวก เชน ที่จอดรถ หองน้ําสาธารณะ ปายและการใหบริการขอมูล แหลงทองเที่ยวเปนตน โดยมีแนวคิดในการออกแบบใหมีเอกลักษณของพื้นถิ่น การใชวัสดุในพื้นถิ่นการ จัดการกอสรางไดโดยชุมชน และนําผลการออกแบบภูมิทัศนไปสอบถามชาวชุมชนจํานวน 53 คนพบวาผล ของการออกแบบทําใหชุมชนมีแนวทางปรับปรุงภูมิทัศนรอบสถาปตยกรรมพื้นถิ่นใหสวยงาม ทําให นักทองเที่ยวสามารถเที่ยวชมสถาปตยกรรมพื้นถิ่นไดโดยสะดวก มีสิ่งอํานวยความสะดวก เชน หองน้ํา ที่จอดรถ มีกิจกรรมหลากหลาย มีความสะอาด นักทองเที่ยวรูขอมูลสถาปตยกรรมพื้นถิ่นและชุมชน ผลการ ออกแบบมีสวนในการอนุรักษสถาปตยกรรมพื้นถิ่นและใชประโยชนสถาปตยกรรมพื้นถิ่น เพื่อการทองเที่ยว โดยชุมชนได จึงมีขอเสนอแนะผูที่เกี่ยวของ เชน สถาบันการศึกษา หนวยงานดานการทองเที่ยว องคการ บริหารทองถิ่น รวมมือกับชุมชนจึงจะทําใหชุมชนสามารถดําเนินการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนไดและการ ดําเนินการปรับปรงุ ภมู ิทัศนใหรองรับการทองเที่ยวควรดําเนินการศึกษาและออกแบบเฉพาะแตละพื้นที่ โดย ทําการศึกษาขอมูลเชิงลึก ทั้งในดานภูมิศาสตร สังคมและวัฒนธรรมเฉพาะพื้นที่ จึงจะทําใหไดภูมิทัศนที่ เฉพาะและเหมาะสมกับพื้นที่นั้น en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สถาปัตยกรรม en_US
dc.subject architecture en_US
dc.subject ท่องเที่ยว en_US
dc.subject Tourism en_US
dc.title แนวทางการจัดการสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative The Guideline on Management Vernacular Architecture for Community Tourism, Buriram Province en_US
dc.type Research en_US
dc.contributor.emailauthor p_pann056@hotmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics