ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

แนวทางการบูรณาการเพื่อการจัดการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนกรณีศึกษาบ้านสินพัฒนาหมู่ 11 ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author พรหมทอง, จุฑามาศ
dc.contributor.author คชรัตน์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธามาศ
dc.contributor.author ปะติตังโข, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กิ่งแก้ว
dc.contributor.author พรรณกุลบดี, อาจารย์สุมิตตรา
dc.contributor.author สังวาลย์มณีเนตร, อาจารย์สุจิน
dc.contributor.author จิตต์หาญ, นฤมล
dc.date.accessioned 2020-09-14T08:07:24Z
dc.date.available 2020-09-14T08:07:24Z
dc.date.issued 2016-10-01
dc.identifier.citation โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ตุลาคม 2556 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/7042
dc.description.abstract โครงการวิจัยแนวทางการบูรณาการเพื่อการจัดการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน กรณีศึกษา บ้านสินพัฒนา หมู่ 11 ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์ของโครงการ 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาแผนการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของหมู่บ้านสินพัฒนา และเพื่อค้นหาแนวทางการบูรณาการเพื่อจัดการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวหมู่บ้านสินพัฒนาในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน ประธาน อสม. อสม. ส.อบต. ปราชญ์ชาวบ้าน ครู นักเรียน และชาวบ้านในพื้นที่เป้าหมาย ภาคท้องถิ่น อบต. ได้แก่ ฝ่ายบริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไทยเจริญ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิเคราะห์นโยบายและแผน ภาควิชาการ (หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุน) ได้แก่ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ รวมเป็นกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยทั้งสิ้น 100 คน พื้นที่ศึกษา คือ บ้านสินพัฒนา หมู่ 11 ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการใช้เครื่องมือ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพได้จากการอภิปรายกลุ่มใช้วิธีการเสนอประเด็น เปรียบเทียบโดยการระดมความคิดเห็น สรุปความ ตีความข้อมูล ที่ได้และใช้แผนที่ความคิด อภิปรายกลุ่มโดยเทียบเคียง แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ควบคู่บริบท (Context) en_US
dc.description.abstract The project of Ways of Integration for Learning Management in Sustainable Tourism, Case Study: Ban Sinpatthana Moo 11 Thai Charoen Subdistrict, Pakham District, BuriramProvince aimed to 1) investigate the plan of supporting and developing toruism of Ban Sinpatthana and 2) to discover ways of Integration for Learning Management in Sustainable Tourism of Ban Sinpatthana. The target groups for the study were: the people sector, consisting of the leader of the community, kamnan, head of the village, committee of the village, president of community volunteers, community volunteers, TAO members, local philosophers, teachers, students and the villagers of the target area; local sector which comprised sub district administrative personnel (the mayor of Thai Charoen TAO, Head of Policy and Planning Analysis); Academic sector (Government supporting unit) of the teachers and officers of the Department of Humanities and Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, 100 people in total. The area for the study was Ban Sinpatthana, Moo 11, Thai Charoen sub-district, Pakham district, Buriram province. The instrument for collecting data was the instrument for qualitative research. The qualitative data were analysed by focus group discussion, brain storm, conclusion, interpretation, and mind-map. The focus group discussion was done by comparing ideas, theory and related research study along with the context and the content related to both objectives. en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.relation.ispartofseries โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์;
dc.subject การจัดการเรียนรู้ en_US
dc.subject การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน en_US
dc.subject Tourism en_US
dc.subject Learning Management en_US
dc.subject Buriram Province en_US
dc.title แนวทางการบูรณาการเพื่อการจัดการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนกรณีศึกษาบ้านสินพัฒนาหมู่ 11 ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Ways of Integration for Sustainable Tourism Learning Management : Case Study “Ban Sinpatthana,Thai Charoen Sub-district,Pakham District, Buriram Province” en_US
dc.type Research en_US
dc.contributor.emailauthor jutamat.pt@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics