ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กระบวนการบำบัดสารปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน

Show simple item record

dc.contributor.author สถิตรัตน์ รอดอารี
dc.date.accessioned 2018-09-26T05:25:25Z
dc.date.available 2018-09-26T05:25:25Z
dc.date.issued 61-07-01
dc.identifier.citation วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561) en_US
dc.identifier.issn 1906-4713
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4359
dc.description.abstract มลพิษทางดิน ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีสาเหตุหลักจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม โดยเป็นผลจากการที่มีสารอันตรายรั่วไหล หรือมีการลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมลงในดิน หรือจากการที่สารอันตรายเคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น เช่น น้ำที่ชะล้างเอาสารปนเปื้อนจากพื้นที่ที่ปนเปื้อนสารอันตรายไหลลงดินหรือสารมลพิษรั่วไหลจากหลุมฝังกลบกากอุตสาหกรรม เป็นต้น และถ้าหากแม่น้ำหรือดินมีมลพิษเป็นน้ำเสีย ก็จะซึมผ่านบ่อขุดหรือรอยแยกลงไปยังน้ำใต้ดินได้ และเมื่อดินมีมลพิษ น้ำใต้ดินก็จะปนเปื้อน เนื่องจากสารพิษหรือสารเคมีต่างจะไหลซึมลงไปใต้ดินแต่น้ำใต้ดินนั้นเคลื่อนไหวได้ช้า เมื่อเกิดมลพิษในดินและน้ำใต้ดินขึ้นจะกำจัดได้ยากแตกต่างจากปัญหามลพิษในอากาศและในน้ำผิวดินเนื่องจากการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและจะไม่มีทางทราบได้เลยจนกระทั่งการปนเปื้อนนั้น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ดังนั้น การบำบัดสารปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก ซึ่งในปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่ใช้กันหลากหลายชนิด ทั้งนี้ผู้ใช้ต้องเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับเพื่อให้การบำบัดเกิดประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ภาครัฐยังได้ออกกฎหมายเพื่อควบคุมการปล่อยสารเคมีหรือสารพิษปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินภาคอุตสาหกรรม โดยออกกฎกระทรวงอุตสาหกรรมควบคุมการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559 ซึ่งกำหนดให้โรงงานอุตสาหกรรมสำรวจคุณภาพดินก่อนการประกอบกิจการเพื่อให้มีข้อมูลพื้นฐาน และทำการเฝ้าระวังคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน โดยกำหนดให้มีบ่อติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject มลพิษดิน การปนเปื้อนในดิน การปนเปื้อนน้ำใต้ดิน en_US
dc.title กระบวนการบำบัดสารปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics