ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของวิทยาลัยการอาชีพ

Show simple item record

dc.contributor.author วิชัย, ปรินายวนิชย์
dc.contributor.author ชวนชัย, เชื้อสาธุชน
dc.contributor.author จิณณวัตร, ปะโคทัง
dc.date.accessioned 2020-07-14T03:21:34Z
dc.date.available 2020-07-14T03:21:34Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 9 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2557); หน้า 170 - 182 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6566
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัจจุบันและปัญหาการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ซอง วิทยาลัยการอาชีพ 2) ร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่ง การเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของวิทยาลัยการอาชีพ 3) ประเมิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล ของวิทยาลัยการอาชีพ และ 4) ศึกษาข้อเสนอแนะการนำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล ของวิทยาลัยการอาชีพไปประยุกต์ใช้ รูปแบบการวิจัยใช้วิธี วิจัยแบบผสมผสานวิธีโดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 4 ระยะ แต่ละระยะมีกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ระยะที่ 1 ผู้อำนวย การวิทยาลัยการอาชีพ จำนวน 103 คน เลือกด้วยวิธีการสุ่ม อย่างง่าย ระยะที่ 2 ร่างยุทธศาสตร์ โดยศึกษาข้อมูลจาก วิทยาลัยการอาชีพด้นแบบ 3 แห่ง ผู้เชี่ยวชาญประเมินองค์ ประกอบหลักและองค์ประกอบย่อยของยุทธศาสตร์ และ ประเมินร่างยุทธศาสตร์และคู่มือการใช้ยุทธศาสตร์ ระยะที่ 3 ประเมินยุทธศาสตร์ๆ โดยผู้เชี่ยวชาญ และระยะที่ 4 ศึกษา ข้อเสนอแนะการนำยุทธศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กลุ่มเปัาหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เซิงลึก แนวคำถามสนทนากลุ่ม แบบประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ และแบบประเมินเพื่อ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ ยุทธศาสตร์ฯ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการพัฒนา องค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยการอาชีพ พบว่า โดย ภาพรวมสภาพปัจจุบัน อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัญหา อยู่ในระดับมาก 2. ผลการร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการ เรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของวิทยาลัยการอาชีพ พบว่า ร่างยุทธศาสตร์ฯ มี 6 องค์ประกอบ คือ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) เป้าหมาย 4) ยุทธศาสตร์ 5) ตัวชี้วัด 6) วัตถุประสงค์ และ 7) แนวดำเนินการ ส่วนยุทธศาสตร์ มี 6 ด้าน 86 แนว ดำเนินการ 3. ผลการประเมินยุทธศาสตร์ พบว่า ผลการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์ การประเมิน ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขโดย 1) ปรับลำดับองค์ประกอบของยุทธศาสตร์จาก 6 องค์ประกอบ เป็น 7 องค์ ประกอบ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้'วัด และแนวดำเนินการ 2) ปรับยุทธศาสตร์ โดยเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และแนวดำเนินการใน แต่ละยุทธศาสตร์ และ 3) ปรับลำดับยุทธศาสตร์ที่ 6 ภาวะ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นยุทธศาสตร์ที่ 1 4. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการนำยุทธศาสตร์ไป ประยุกต์ใช้ พบว่า ภาพรวมยุทธศาสตร์มีความครอบคลุม และส่งผลให้เป็นองค์การแห่งการเรียนเอย่างแน่นอน การนำ ยุทธศาสตร์ไปใช้ ควรศึกษาคู่มือการใช้ยุทธศาสตร์ๆ และ ศึกษาดำชี้แจงในการดำเนินการให้ชัดเจน จากนั้นให้ SWOT นำยุทธศาสตร์ไปใช้ทั้งระบบ en_US
dc.description.abstract The objective of this research was to present the strategies for developing efficient learning organizations of the Industrial and Community Education Colleges. The research was conducted in 4 phases. Phase 1 investigated the current conditions and problems of the development of efficient learning organizations. The sample included 103 directors. The research tools consisted of a survey questionnaire and an interview. The collected quantitative data were analyzed by using means and standard deviation and the qualitative ones were done by content analysis. Phase 2 drafted the strategies for developing an efficient learning organization. Seventeen experts were employed for assessing the suitability of the major and minor components of the drafted strategies and 5 experts for evaluating the suitability of the handbook of the strategy use. The tools used in data collection were an evaluation form for assessing the suitability of the major and minor components of the strategies and an assessment form for evaluating the suitability of the handbook of the strategy use. Means and standard deviation were employed in the data analysis. Phase 3 evaluated the strategies by 23 experts. The tool used in the evaluation of their suitability and possibility was an assessment form. The collected data were analyzed by means and standard deviation. Phase 4 presented the strategies to 30 experts who examined the whole strategies. A record of the connoisseur meeting was used in the data collection and content analysis was used in the data analysis. The research findings were as follows: The strategies constructed for developing the efficient learning organizations of the Industrial and Community Education Colleges were presented according to four research stages. 1. The directors of the Industrial and Community Education Colleges were found to develop their organizations to be learning organizations involving the overall aspects namely personnel and teamwork, technology and work system, and leadership of change agent at a moderate level, other overall aspects, that is, shared vision, culture and learning environment creation, knowledge management were at a higher level. The problems in developing the organizations to be learning organizations were overall at a higher level; except the problems in the change agent leadership aspect was at a moderate level. 2. The strategies drafted consisted of 4 components: 1) Vision, 2) Missions, 3) Goals, and 4) Developmental strategies that included 6 strategies. Strategy 1: Shared vision creation consisted of 2 indicators and 10 guiding means, strategy 2: Development of personnel and teamwork involved 3 indicators and 18 guiding means, strategy 3: Technology and work system management consisted of 2 indicators and 16 guiding means, strategy 4: Culture and learning environments creation consisted of 2 indicators and 17 guiding means, strategy 5: Knowledge management consisted of 2 indicators and 14 guiding means. Strategy 6: Leadership of change agent included 2 indicators and 11 guiding means. 3. The suitability and possibility of the completed completed strategies were found to meet the assessment criteria and improved following the advice of the evaluators. The objectives of each strategy were added. The priority of the strategies was reorganized as the following: Strategy 1: Promotion of leadership of the leaders on the whole administrative system; Strategy 2: Creation of shared vision for the same directions and goals; strategy 3: Development of personnel and teamwork to be learning persons; Strategy 4: Management of technology and work system focusing on effective mechanisms; strategy 5: Creation of culture and learning environments; and Strategy 6: Systemized knowledge management. 4. The advice on implementation of the strategies was obtained. The directors should have studied the handbook of the strategies and its directions. They should have then analyzed their organizations’ situations or used the SWOT analysis for the current conditions, problems, and genuine needs before implementing the strategy. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของวิทยาลัยการอาชีพ en_US
dc.title ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของวิทยาลัยการอาชีพ en_US
dc.title.alternative Strategy to Develop efficient Academic Organization of Industrial and Community education College en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics