ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การทดสอบประสิทธิภาพน้ำหมักชีวภาพจากมูลจิ้งหรีด มูลแมงสะดิ้ง และมูลไส้เดือนที่ส่งผลต่อการปลูกดาวเรือง

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author ศรีวิโรจน์, กฏษฏา
dc.contributor.author บุญคร, กิตติศักดิ์
dc.contributor.author จันทรเพ็ญกุล, เลิศภูมิ
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2017-11-02T04:57:00Z
dc.date.available 2017-11-02T04:57:00Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3103
dc.description วท.บ. เกษตรศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2559 en_US
dc.description.abstract ศึกษาประสิทธิภาพน้้าหมักชีวภาพจากมูลจิ้งหรีด มูลแมงสะดิ้งและมูลไส้เดือนที่ส่งผลต่อการปลูกดาวเรือง ดำเนินการทดลอง ณ บ้านเลขที่ 153/14 ต.อีสาน. อ. เมือง จ. บุรีรัมย์ ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2559 - วันที่ 27สิงหาคม 2559 ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 กรรมวิธี จำนวน 4 ซ้้า ดังนี้ ไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด 50ml/น้ำ500ml (T2) (ปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง 50ml/น้ำ500ml (T3)และปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้ำ500ml (T4)ผลการทดลองพบว่า ด้านความสูงที่อายุ 57วัน แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.01)และช่วงอายุที่50และ 64 แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) แต่มีแนวโน้มว่าปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง 50ml/น้ำ500ml (T3)มีค่าความสูงของต้นดาวเรืองที่มีค่ามากที่สุดคือ คือ70.88เซนติเมตรรองลงมา ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด 50ml/น้ำ500ml (T2)68.81 เซนติเมตร,ปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้ำ500ml (T4)63.81เซนติเมตร และค่าเฉลี่ยด้านความสูงที่มีค่าน้อยที่สุด คือไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)40.50 เซนติเมตร ที่อายุ 50 และ74 วัน แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) แต่มีแนวโน้มว่า ปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง 50ml/น้้า500ml (T3) มีค่าเฉลี่ยด้านความสูงต้นมากที่สุดคือ 90.81 เซนติเมตร รองลงมา ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด 50ml/น้้า500ml (T2)89.38 เซนติเมตร,ปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้้า500ml (T4)83.19เซนติเมตร และค่าเฉลี่ยด้านความสูงที่มีค่าน้อยที่สุด คือไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)51.31เซนติเมตร ด้านความกว้างทรงพุ่มมีแนวโน้มว่าช่วงอายุที่ 50 และ 57วันแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) แต่มีแนวโน้มว่าปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง 50ml/น้้า500ml (T3)มีค่าความความกว้างทรงพุ่มที่มีค่ามากที่สุดคือ34.69 เซนติเมตรรองลงมา ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด 50ml/น้้า500ml (T2)31.56 เซนติเมตร,ปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้้า500ml (T4)29.19เซนติเมตร และค่าเฉลี่ยด้านความสูงที่มีค่าน้อยที่สุด คือไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)18.44เซนติเมตร ที่อายุ 64 วัน พบว่าค่าเฉลี่ยด้านความกว้างทรงพุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (>0.05)ด้านน้้าหนักสดแนวโน้มว่าช่วงอายุที่ 64 (รุ่นแรก) แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) แต่มีแนวโน้มว่า ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด50ml/น้้า500ml (T2) มีค่าเฉลี่ยด้านน้้าหนักสดของดอกมากที่สุดคือ 112.50 เซนติเมตร รองลงมา ปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง50ml/น้้า500ml (T3)95.00 เซนติเมตร,ปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้้า500ml (T4)90.00เซนติเมตร และค่าเฉลี่ยด้านน้้าหนักสดที่มีค่าน้อยที่สุด คือไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)0.00เซนติเมตร(เนื่องจากยังไม่ออกดอก) ที่อายุ 78 วัน(รุ่นสอง) พบว่าค่าเฉลี่ยด้านน้้าหนักสดไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (>0.05)ด้านน้้าหนักแห้งโดยการน้าดอกสดไปอบในตู้ Hot airoven ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสนาน 24 ชั่วโมง แนวโน้มว่าช่วงอายุที่ 64 และ78วัน(รุ่นแรกและรุ่นที่สอง) แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) แต่มีแนวโน้มว่า ปุ๋ยน้้าหมักมูลจิ้งหรีด50ml/น้้า500ml (T2) มีค่าเฉลี่ยด้านน้้าหนักแห้งของดอกมากที่สุดคือ 26.65 เซนติเมตร รองลงมา ปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง50ml/น้้า500ml (T3)25.57 เซนติเมตร,ปุ๋ยน้้าหมักมูลไส้เดือน 50ml/น้้า500ml (T4)24.53เซนติเมตร และค่าเฉลี่ยด้านน้้าหนักแห้งที่มีค่าน้อยที่สุด คือไม่ใส่ปุ๋ยน้้าหมักControl (T1)0.00 เซนติเมตร(เนื่องจากยังไม่ออกดอก) จึงสรุปได้ว่าปุ๋ยน้้าหมักมูลสะดิ้ง 50ml/น้้า500ml (T3) มีผลต่อด้านความสูงและความกว้างทรงพุ่ม,น้้าหนักสดและน้้าหนักแห้ง สามารถช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตเละการให้ผลผลิตในการปลูกดอกดาวเรืองพันธุ์ทองเฉลิม5011 en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ดาวเรือง ,น้ำหมักชีวภาพ, มูลจิ้งหรีด, มูลแมงสะดิ้ง, มูลไส้เดือน,การเจริญเติบโตของพืชMarigold, bio-fermentation, ground cricket, fallow, groundworm, plant growth en_US
dc.title การทดสอบประสิทธิภาพน้ำหมักชีวภาพจากมูลจิ้งหรีด มูลแมงสะดิ้ง และมูลไส้เดือนที่ส่งผลต่อการปลูกดาวเรือง en_US
dc.title.alternative Test of bio-fermentation efficiency from ground crickets And the earthworm effect on the growing of marigolds en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics